Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71971
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทัสสนี นุชประยูร | - |
dc.contributor.advisor | สมรัตน์ เลิศมหาฤทธิ์ | - |
dc.contributor.author | นฤมล รัชตโกมุท | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-01-27T02:04:21Z | - |
dc.date.available | 2021-01-27T02:04:21Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746378236 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71971 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ในโรคอุจจาระร่วงของผู้เลี้ยงดูเด็ก ที่มีเด็กในความดูแลอายุต่ำกว่า 5 ปี และมีประวัติเป็นโรคอุจจาระร่วงภายในระยะ 6 เดือน ซึ่งมารับบริการ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร ในระหว่างเดือนกันยายน 2540 – กุมภาพันธ์ 2541 โดยวิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 81 ของผู้เลี้ยงดูเด็กที่ตกเป็นตัวอย่าง 1,290 คน ใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่เวลาเด็กมีอาการอุจจาระร่วง ผู้เลี้ยงดูเด็ก มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 65.2, 73.3 และ 58.9 ตามลำดับ) และพบว่ามีความแตกต่างกันของคะแนนความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ในผู้เลี้ยงดูเด็กของแต่ละศูนย์ประสานงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) นอกจากนั้นยังพบว่าพฤติกรรมการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ของผู้เลี้ยงดูเด็กยังแตกต่างกันตามอายุของผู้เลี้ยงดูเด็ก(<25 ปี)อายุของเด็กที่ดูแล(<2ปี) และจำนวนของเด็กที่อยู่ในความดูแล(>1 คน) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติด้วย (p<0.05) ปัญหาที่ผู้เลี้ยงดูเด็กที่เคยใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ตอบคือ เด็กไม่ยอมดื่มเป็นเพราะรสชาดของผงน้ำตาลเกลือแร่เมื่อผสมน้ำแล้วไม่ดี ส่วนผู้เลี้ยงดูเด็กที่ไม่ใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่เพราะความเข้าใจผิดว่าอาการถ่ายของเด็กเป็นเพราะเรื่องอื่นซึ่งไม่ใช่โรคอุจจาระร่วง ดังนั้นการส่งเสริมการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ ในเด็กที่เป็นโรคอุจจาระร่วง ที่สำคัญคือ การให้สุขศึกษาโดยเฉพาะในผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี เด็กในความดูแลที่อายุน้อยกว่า 2 ปี และมีจำนวนเด็กในความดูแล 1 คน เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็กเหล่านั้นมีความรู้ และทัศนคติที่ดีขึ้น และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ รักษาโรคอุจจาระร่วงในเด็กตั้งแต่เริ่มแรกที่บ้าน ซึ่งจะเป็นการลดความรุนแรงของโรคลงด้วย | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to determine knowledge, attitude and practice (KAP) on oral rehydrated solution (ORS) among caretakers of under 5 year-old children with a history of having diarrheal disease during the past 6 months. A sample of 1,290 caretakers was randomly chosen from those who came for health service at the health center of Bangkok Metropolis during September 1997 to February 1998 by multistage cluster sampling. The study revealed that the rate of using ORS among caretakers was 81.1 %. We found that their knowledge,attitude and practice on ORS were in the middle level(65.2%, 73.3% and 58.9% respectively). However it was shown that there was statistically significant difference of KAP among 6 Health co-ordinating centers (P-value<0.05). We also found that the practice of ORS among caretakers was statistically significantly different in age of caretakers, age of children and number of children under care. The problem of ORS usage among those who ever used was its unpleasant flavour.The reason given by caretakers who had never used ORS was due to the mis-interpreting of symptoms that it was not a real diarrhoea. Health education seems to be an important tool to change the belief and behavior of caretakers that early home therapy with ORS will decrease the severity of diarrheal disease. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่ของผู้เลี้ยงดูเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มารับบริการ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Knowledge, attitude and practice on ors usage among under 5 year-old child caretakers at health center of Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เวชศาสตร์ชุมชน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | Somrat.L@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Narumon_ra_front_p.pdf | 10.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_ch1_p.pdf | 7.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_ch2_p.pdf | 20.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_ch3_p.pdf | 10.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_ch4_p.pdf | 22.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_ch5_p.pdf | 13.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Narumon_ra_back_p.pdf | 16.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.