Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยา ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorศุทธิมาส คำดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialเพชรบุรี-
dc.date.accessioned2021-02-10T07:15:44Z-
dc.date.available2021-02-10T07:15:44Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9740300448-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72212-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการแปรของวรรณยุกต์ใน ภาษาไทยถิ่นกลางที่พูดในระดับตำบล เพื่อหาคำตอบว่า การวิเคราะห์วรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องสามารถแสดงความแตกต่างของภาษาถิ่นในระดับนี้ได้เพียงใด ผู้วิจัยอัดเสียงภาษาบ้านลาดที่พูดในตำบลต่างๆ แล้วเปิดไห้ชาวบ้านลาดจากต่างตำบลฟัง เพื่อหาตำบลที่ใช้สำเนียงแตกต่างกัน พบว่าชาวบ้านลาดจำแนกสำเนียงที่พูดที่ตำบลไร่สะท้อนและตำบลบ้านทานได้มากที่สุด ผู้วิจัยจึงเลือก 2 ตำบลนี้เป็นจุดเก็บข้อมูล ผู้วิจัยคัดเลือกผู้บอกภาษา 3 คน จากแต่ละตำบล เป็นเพศชาย อายุ 40-70 ปี แล้วสัมภาษณ์ผู้บอกภาษาแต่ละคนเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป เป็นเวลาประมาณ 3-5 ชั่วโมง ผู้วิจัยสัมภาษณ์ด้วยตนเองเพราะผู้วิจัยเป็นชาวไรสะท้อนแต่กำเนิด หลังจากการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลคำชุดเทียบเสียง ซึ่งประกอบด้วยคำ 10 คำ ได้แก่ กา คา ข่า ข้า ค้า ขา ขัด คัด ขาด คาด ด้วยวิธีการให้สัญญาณประจำคำ ผู้บอกภาษาออกเสียงคำชุดเทียบเสียงทั้งหมด 8 รอบ ผู้วิจัยคัดเลือกพยางค์ประเภทต่างๆ จากคำพูดต่อเนื่อง ได้แก่ พยางค์ที่ลงเสียงหนักพิเศษ พยางค์ที่ลงเสียงหนัก และพยางค์ที่ไม่ลงเสียงหนัก ที่ปรากฏในคำ 1 พยางค์ และคำ 2 พยางค์ โดยคัดเลือกพยางค์มาบริบท 5 พยางค์ ผู้วิจัยวิเคราะห์พยางค์เหล่านี้พรอมทั้งคำชุดเทียบเสียง คำละ 5 ครั้ง โดยใช้โปรแกรม WinCECIL จากนั้น จึงแสดงผลและประมวลผลให้เป็นกราฟด้วย Microsoft Excel Version 1997 ในงานวิจัยนี้มีวิธีการนำเสนอกราฟแสดงวรรณยุกต์แบบใหม่ด้วย ภาษาถิ่นย่อยทั้ง 2 สำเนียงที่ศึกษา มี 6 หน่วยเสียงวรรณยุกต์ ผลการวิเคราะห์เชิงกลสัทศาสตร์แสดงว่า ว. 5 จำแนกสำเนียงทั้งสองในทุกบริบท ว. 6 ว.4 และ ว. 3 จำแนก 2 สำเนียง ในบริบทส่วนใหญ่ส่วน ว. 2 และ ว.1 จำแนก 2 สำเนียงเฉพาะในบางบริบทเท่านั้น นอกจากนั้นยังพบว่า ตำแหน่งของกราฟเส้น ของแต่ละหน่วยเสียงวรรณยุกต์เมื่อเปรียบเทียบกับของหน่วยเสียงวรรณยุกต์อื่นๆ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จำแนกสำเนียง 2 สำเนียงนี้ออกจากกันด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis study investigates tonal variation in Central Thai at the level of tambon to find out the extent to which tonal analyis of connected speech could be used to distinguish the varieties at this level. Listening tests were earned out among the inhabitants of Amphoc Banlad, Pctchaburi province. The varieties spoken at tambon Rai Sathon and tambon Ban Than stood out as the most distinctive. Three male speakers 40-70 vcars old from each tambon were interviewed on general subjects for 3-5 hours by the researcher, who also comes from tambon Rai Sathon. At the end of the interview of each informant a tone checklist consisting of 10 words : /kaaA2, khaaA4, khaaBl, khaaCl, khaaC4, khaaAl, khatDSl. khatDS4, khaatDLl, khaatDL4/ were elicited using the cue card technique. Eight rounds of the checklist were recorded. The following types of syllables were selected from the connected speech data : prominently stressed syllables, stressed syllables, and unstressed syllables in monosyllabic as well as disyllabic words - live syllables in each type. These syllables together with live tokens of each word in the tone checklist were analysed using WinCECIL. Microsoft Excel Version 1997 was used to process the data and produce line graphs. A new method of tonal presentation is purposed in this study. The two varieties under study have six tones. The graphs show that fifth tone distinguishes the two varieties in all contexts; the third, the fourth, and the sixth tones in the majority of contexts; the first and the second tones only in some contexts. The position of the line graph of each tone in relationship to those of the other tones is also a factor that distinguishes the two varieties.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษาไทย -- เสียงวรรณยุกต์en_US
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่นen_US
dc.titleการศึกษาวรรณยุกต์เพื่อการจำแนกสำเนียงของภาษาไทยถิ่นบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรีen_US
dc.title.alternativeA tonal study to differentiate Banlad accents of Petchaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suttimas_kh_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ921.29 kBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch1_p.pdfบทที่ 1972.96 kBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch2_p.pdfบทที่ 21.44 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch3_p.pdfบทที่ 31.2 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch4_p.pdfบทที่ 41.51 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch5_p.pdfบทที่ 52.21 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch6_p.pdfบทที่ 62.36 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch7_p.pdfบทที่ 72.32 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_ch8_p.pdfบทที่ 81 MBAdobe PDFView/Open
Suttimas_kh_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.