Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72304
Title: เทคนิคการลดความซับซ้อนในเครื่องรับที่ใช้การปรับตัวแบบบอด ด้วยขั้นตอนลิเนียร์ลีคอนเสตรนคอนแสตนต์มอดุลัส
Other Titles: Complexity reduction techniques for linearly constrained constant modulus algorithm blind adaptive detector
Authors: สุวิชช์ คุณารัตนพฤกษ์
Advisors: สมชาย จิตะพันธ์กุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส
ระบบสื่อสารข้อมูล
Issue Date: 2543
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้เสนอเทคนิคการลดความซับซ้อนในกระบวนการปรับตัวอย่างอัตโนมัติของเครื่องรับที่มีการปรับตัวแบบบอดด้วยขั้นตอนลิเนียร์ลีคอนเสตรนดอนแสตนต์มอดุลัส ใน สภาวะแวดล้อมของระบบการสื่อสารแบบแบ่งแยกด้วยรหัสชนิดไดเรกต์ซีเควนซ์ ความซับซ้อนส่วนมากของเครื่องรับที่มีการปรับตัวโดยอัตโนมัติจะอยู่ที่ขั้นตอนการปรับตัว ความซับซ้อน ดังกล่าวจะแปรผันกับจำนวนค่านำหนักถ่วงที่ใช้ในวงจรกรองปรับตัวได้ ดังนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงลดความซับซ้อนโดยการลดจำนวนค่าน้ำหนักถ่วงที่ใช้ในวงจรกรองปรับตัวได้ เทคนิคในการลดจำนวนค่านำหนักถ่วงที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มาจากการปรับใช้เทคนิคที่ถูกเสนอให้ใช้กับเครื่องรับที่มีการปรับตัวโดยอัตโนมัติชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ยังเสนออัลกอริทึมค้นหาการแปลงเพื่อแก้ข้อด้อยต่าง ๆ ของวิธีที่นำมาปรับใช้ จากผลการจำลองระบบทำให้สามารถวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของเทคนิคต่าง ๆ ที่นำมาใช้ รวมทังยังพบว่าเครื่องรับที่มีการลดจำนวนค่าน้ำหนักถ่วงโดยใช้อัลกอริทึมค้นหาการแปลงมีสมรรถนะที่ดีกว่าเครื่องรับที่ใช้เทคนิคอื่นๆ ในการลด จำนวนค่านำหนักถ่วง เช่นการแปลงแบบดั้งเดิมที่ใช้เมทริกซ์การแปลงชนิดต่าง ๆ
Other Abstract: This thesis proposed complexity reduction techniques for a linearly constrained constant modulus algorithm (LCCMA) blind adaptive detector in the direct-sequence code division multiple access (DS-CDMA) system. Since the complexity of the adaptive receiver is proportional to its number of adaptive weights, the number is reduced for simplicity. In this thesis, many adaptive weights reduction techniques that were formerly introduced in other adaptive receivers are applied to the LCCMA receiver. This thesis not only applied the previously proposed reduction techniques to the receiver but also proposed a transformation searching algorithm to overcome the disadvantages of those techniques. The computer simulation results in this thesis showed the advantages as well as the disadvantages of each adaptive weights reduction techniques. The results also showed that the performance of the receivers, using transformation searching algorithm, is superior to those using other techniques such as conventional transformation using various kinds of transformation matrix.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72304
ISBN: 9743463194
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suwich_ku_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.39 MBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_ch1_p.pdfบทที่ 11.27 MBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_ch2_p.pdfบทที่ 21.9 MBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_ch3_p.pdfบทที่ 31.56 MBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_ch4_p.pdfบทที่ 44.2 MBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_ch5_p.pdfบทที่ 5791.49 kBAdobe PDFView/Open
Suwich_ku_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.