Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาทิตย์ ทองทักษ์-
dc.contributor.authorอนล ธรรมตระการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-03-11T01:59:49Z-
dc.date.available2021-03-11T01:59:49Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9740314015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72762-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์แบบอสมวารนั้นมีความยุ่งยากและซับซ้อนกว่าไมโครโพรเซสเซอร์แบบสมวารพอสมควร ยิ่งการออกแบบให้มีสมรรถนะที่ดีด้วยนั้นเป็นสิ่งที่ต้องสิ้นเปลืองเวลาในการคิดออกแบบมากทีเดียว จึงได้มีงานวิจัยมากมายพยายามเสนอทางเลือกที่สามารถนำมาใช้ในการออกแบบวงจร อสมวาร งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างต้นแบบของการ ออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์แบบอสมวารให้สามารถนำไปใช้ในการวิจัยต่อไปได้ โดยได้มีการออกแบบทั้งโมเดลที่ไม่ไวต่อความหน่วงชนิดเสมือนและชนิดปรับมาตราส่วนได้ เพื่อการเปรียบเทียบสมรรถนะและความสิ้นเปลืองในการออกแบบด้วยโมเดลทั้งสอง ไมโครโพรเซสเซอร์ตัวนี้ได้ถูกออกแบบในระดับเกตเป็นส่วนใหญ่ และใช้ภาษา Verilog ในการจำลองแบบการทำงาน โดยมีการกำหนดค่าความหน่วงเกตเป็นค่าคงที่ค่าหนึ่ง และกำหนดให้ ไม่มีค่าความหน่วงในสายสัญญาณเสมือนว่าค่าความหน่วงของสายสัญญาณได้รวมเอาไว้กับค่าความหน่วงเกตแล้ว เมื่อพิจารณาสมรรถนะที่ได้จากโมเดลที่ไม่ไวต่อความหน่วงชนิดปรับมาตรา ส่วนได้นั้นเปรียบเทียบกับโมเดลที่ไม่ไวต่อความหน่วงชนิดเสมือนแล้ว จากผลการทดลองด้วยโปรแกรมทดสอบจำนวน 10 ชุดพบว่ามีสมรรถนะที่ดีขึ้นถึง 25.17 เปอร์เซ็นต์ และใช้จำนวนเกตที่ลดลงไปถึง 28.61 เปอร์เซ็นต์ ทำให้โมเดลที่ไม่ไวต่อความหน่วงชนิดปรับมาตราส่วนได้กลายเป็นทางเลือกในการออกแบบวงจรอสมวารที่น่าสนใจกว่ามากen_US
dc.description.abstractalternativeDesigning an asynchronous microprocessor is a complicated and time-consuming task. Especially, designing a high performance one will dramatically increase the design difficulty. There are numerous papers trying to represent various approaches in designing a dependable asynchronous system. This thesis is intended to provide an asynchronous microprocessor design prototype. It is expected to be of some use in further research. In the design we use both quasi-delay-insensitive (QDI) and scalable-delay-insensitive (SDI) model so that we can point out some interesting aspects by comparison, especially in the performance point. We applied both QDI and SDI model in designing the microprocessor and verified our mostly gate-level logic design by using a Verilog simulator. We assigned a fix-value delay to each logic gate and a zero delay to each interconnection wire assuming it is included in the logic gate. The experiment from our 10 testing programs shows that the SDI model offers the performance increase over the QDI model around 25.17 percent and the gate count is decreased by 28.61 percent. The result indicates that the SDI model is considered a better alternative when it comes to asynchronous system design.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไมโครโปรเซสเซอร์en_US
dc.titleการออกแบบไมโครโพรเซสเซอร์แบบอสมวาร ที่ไม่ไวต่อความหน่วงชนิดปรับมาตราส่วนได้ โดยอาศันพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ไทแทกen_US
dc.title.alternativeAn asynchronous scalable-delay-insensitive microprocessor design based on titac microprocessoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorArthit.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anon_ta_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ805.56 kBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_ch1_p.pdfบทที่ 1709.33 kBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_ch2_p.pdfบทที่ 2850.31 kBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_ch3_p.pdfบทที่ 31.36 MBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_ch4_p.pdfบทที่ 4818.36 kBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_ch5_p.pdfบทที่ 5703.36 kBAdobe PDFView/Open
Anon_ta_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.