Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพล สูอำพัน-
dc.contributor.advisorวีรยุทธ ประพันธ์พจน์-
dc.contributor.authorจันทร์เพ็ญ ธัชสินพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-03-15T03:58:00Z-
dc.date.available2021-03-15T03:58:00Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740307965-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72828-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความรู้, เจตคติและการปฏิบัติของผู้ปกครองเด็กปัญญาอ่อน ก่อนและหลังการได้รับสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ร่วมกับ การได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตราฐาน และศึกษาเปรียบเทียบความรู้, เจตคติ และการปฏิบัติของผู้ปกครองเด็กปัญญาอ่อน ระหว่างการได้รับสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ร่วมกับ การได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐาน กับ การได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐานเพียงอย่างเดียว สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม, แบบทดสอบความรู้, แบบสอบถามเจตคติ และแบบสอบถามการปฏิบัติต่อเด็ก ปัญญาอ่อน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองเด็กปัญญาอ่อน อายุแรกเกิด - 1 ปี 6 เดือน ที่รับบริการส่งเสริมพัฒนาการจากโรงพยาบาลราชานุกูล จำนวน 59 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 29 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ผลการวิจัยพบว่า ก่อนและหลังการได้รับสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ร่วมกับ การได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐาน ผู้ปกครองมีความรู้, เจตคติ และการปฏิบัติ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่ผู้ปกครองกลุ่มควบคุมซึ่งได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐาน มีเพียงเจตคติเท่านั้นที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนความรู้และการปฏิบัติไม่มีความแตกต่างกัน ซึ่งแสดงว่าการได้รับสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ร่วมกับ การได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐาน มีประสิทธิผลต่อการเสริมสร้างความรู้, เจตคติ และการปฏิบัติของผู้ปกครอง ดีกว่าการได้รับสุขภาพจิตศึกษาเป็นรายบุคคลตามมาตรฐานเพียงอย่างเดียวen_US
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this study was to compare knowledge, attitude and practice of parents with mentally retarded children before and after having group psychoeducation and between the experimental group (group psychoeducation) and the control group (individual psychoeducation). The instrument used in the experimental group was group psychoeducation applying the participatory learning process and that in the control group was a regular infant development program. The data were collected by using questionnaires consisting of knowledge, attitude and practice of parents with mentally retarded children and analyzed by SPSS program. Participants were 59 parents of mentally retarded children aged 0 - 1 year and 6 months who attended the infant development program at Rajanukul Hospital. From this group 29 parents were randomly chosen for the experimental group and 30 parents for the control group. The results of the study were as follows: เท the experimental group., the post-test scores (after group psychoeducation) in knowledge, attitude and practice were significantly higher than the pre-test scores (before group psychoeducation)., with p value at 0.05. In the control group, the post-test scores in attitude were significantly higher than the pre-test scores (p = 0.05). But for knowledge and practice there was no difference between the pre-test and post-test scores. The results of the study supported the hypothesis that group psychoeducation applying participatory learning process together with regular infant development program had greater effect on knowledge, attitude and practice than regular infant development program alone.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.250-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาen_US
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาen_US
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectกลุ่มอาการดาวน์en_US
dc.subjectDown's syndromeen_US
dc.subjectMental retardationen_US
dc.titleผลของสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อ ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติของผู้ปกครองเด็กปัญญาอ่อนen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of group psychoeducation on knowledge, attitude and practice of parents with mentally retarded childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.250-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Janphen_tu_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ786.73 kBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_ch1_p.pdfบทที่ 1906.6 kBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_ch2_p.pdfบทที่ 22.17 MBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_ch3_p.pdfบทที่ 3880.63 kBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_ch4_p.pdfบทที่ 4929.7 kBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_ch5_p.pdfบทที่ 51.13 MBAdobe PDFView/Open
Janphen_tu_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก2.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.