Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73956
Title: การจัดตารางการผลิตในโรงงานโดยวิธีการจำลองแบบปัญหา
Other Titles: Shop floor scheduling by simulation
Authors: นภิสพร คืนตัก
Advisors: ธัชพล โปษยานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: การวางแผนการผลิต
การจำลองระบบ
Simulation methods
Production planning
Issue Date: 2534
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเพื่อสร้างตารางการผลิตที่เหมาะสมในโรงงานอาหารสัตว์ โดยวิธีการจำลองแบบปัญหา มีวัตถุประสงค์คือลดเวลาทีสูญเสียไปเนื่องจากการรอคอย สร้างตารางการผลิตใหม่เมื่อสถานการณต่าง ๆ ในการผลิตเปลี่ยนแปลงไป และเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบสนับสนุนสารสนเทศในการบริหารการผลิต โดยระบบนี้ถูกพัฒนาขึ้นบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ หลักการที่ใช้ในการจัดตารางการผลิตได้จากประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญมาสร้างเป็นกฎเกณฑ์ประกอบกับข้อมูลในอดีต รายละเอียดของขั้นตอนการผลิต และข้อจำกัดของเครื่องจักรอุปกรณ์ รวมทั้งกฎเกณฑ์ที่ได้จากการทดลองกับแบบจำลอง แบบจำลองที่ได้เมื่อนำไปใช้งานสามารถลดเวลาสูญเสียที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิต โดยเฉพาะที่ เครื่องผสมซึ่งเป็นคอขวดของโรงงาน ช่วยลดความต้องการด้านทักษะของผู้ควบคุมการผลิต และสามารถ สร้างตารางการผลิตใหม่เมื่อเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นในขั้นตอนการผลิต รวมทั้งสามารถนาแบบจำลองไปประยุกต์ใช้กับโรงงานอาหารสัตว์อื่น ๆ โดยปรับปรุงรายละเอียดขั้นตอนการผลิตและหลักการที่ใช้ในโรงงานนั้น ๆ
Other Abstract: The main objective of this thesis is to determine an appropriate production schedule in a feed mill factory by simulation method in order to reduce downtime which causes by waiting, to supply a new production schedule when there are changes in the production constraints, and to be a part of a production management information system. The system operations and criteria are acquired from the knowledge of the experts, production details, equipment's and machine's limitations, and heuristics obtained from running a simulation model. The system reduces the requirement of operators' skill and downtime at operations, especially at mixer operation, which is a bottleneck of the plant. It creates an appropriate production schedule as a production plant. constraints change. In addition, the system can be applied to other feed mill factories by modifying heuristics represented in the knowledge base.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73956
ISBN: 9745787795
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napisporn_ku_front_p.pdf921.1 kBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch1_p.pdf747.93 kBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch2_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch3_p.pdf889.72 kBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch4_p.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch5_p.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_ch6_p.pdf692.13 kBAdobe PDFView/Open
Napisporn_ku_back_p.pdf5.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.