Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74139
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เริงเดชา รัชตโพธิ์ | - |
dc.contributor.advisor | ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | อุทัย ฤกษ์ศิริรัตน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-25T06:28:52Z | - |
dc.date.available | 2021-06-25T06:28:52Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.isbn | 9745770698 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74139 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันมีการออกแบบ และ ก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเป็นจำนวนทุกในกรุงเทพฯ อีกทั้งยังมี แนวโน้มว่าจะมีความสูงมากขึ้น ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ปีพ.ศ. 2522 ก็ได้ใช้มานานกว่า 10 ปีแล้ว ซึ่งจะให้ค่าหน่วยแรงลมต่ำไปหากนำค่าขั้นต่ำไปใช้ในการออกแบบอาคารสูง เนื่องจากทฤษฎีพื้นฐานเดิมที่ใช้จำกัด ที่ความสูงราว 100 เมตร การศึกษาในครั้งนี้ได้นำเอาวิธีวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้ทฤษฎีการสั่นสะเทือน แบบสุ่ม เพื่อหาค่าการตอบสนองชองโครงสร้างอาคารสูงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าต่อแรงลม แล้วนำค่าการตอบสนองของโครงสร้างที่ได้ ไปหาค่าหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าที่ใช้ในการออกแบบอาคาร ในการวิจัยนี้ ได้ใช้ทฤษฎีค่าปลายสูด (Extreme Value Theory) หาค่ากว่าเร็วลมสูงสุดที่จะมีโอกาสเกิดขึ้นได้ไนรอบ 50 ปี และ 100 ปี โดยใช้ข้อมูลความเร็วลมสูงสูดในแต่ละปี จากสถานตรวจอากาศดอนเมือง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ถึง พ.ศ. 2530 หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์หาค่าการตอบสนองของโครงสร้างต่อแรงลม โดยใช้วิธีที่เสนอโดย Solari และ คณะกรรมการทางด้านลม และ พลศาสตร์ของ ASCE ตัวแปรที่พิจารณาได้แก่ ความสูงของโครงสร้าง สัดส่วน (ความสูงต่อความลึก) และค่าความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง ตลอดจนลักษณะของสภาพภูมิประเทศที่โครงสร้างนั้นตั้งอยู่ ตัวแปรเหล่านี้ได้เลือกให้ครอบคลุมอยู่ในช่วงที่พบมาก ในทางปฏิบัติ จากผลการวิเคราะห์พบว่า เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้นค่าหน่วยแรงลมเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นแต่ค่าตัวประกอบ การตอบสนองการกรรโชกของลมจะลดลง และ ค่าหน่วยแรงสมสถิตเทียบเท่าจะมีค่าเพิ่มขึ้น การถดค่าอ"ตราส่วน ความกว่างชองด้านปะทะลมต่อความสูงชองโครงสร้างจาก 1:3 เป็น 1:7 จะให้ค่าตัวประกอบการตอบสนอง การกรรโชกชองลมเพิ่มขึ้นประมาณ 5 เปอร์เซนต์ การเพิ่มค่าอัตราส่วนความกว้างของด้านปะทะลมต่อระยะในแนวทิศทางลม จะทำให้ค่าตัวประกอบการตอบสนองการกรรโชกชองลมเพิ่มขึ้นน้อยมาก (น้อยกว่า 2 เปอร์เซนต์) สำหรับโครงสร้างที่มีความสูง และ ลัดส่วนเท่ากัน โครงสร้างที่ค่อนข้างอ่อน จะให้ค่าตัวประกอบการตอบสนองการกรรโชกของลมมากกว่าโครงสร้างที่แข็งกว่า ค่าแตกต่างนี้ อยู่ในราว 5 เปอร์เซนต์ สำหรับช่วงสติฟเนสที่พิจารณา เมื่อเปรียบเทียบผลทีได้จากการศึกษาในครั้งนี้กับข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2522 ในส่วนที่ว่าด้วยหน่วยแรงลมออกแบบ พบว่า เมีอโครงสร้างมีความสูงมากกว่าประมาณ 100 เมตร หน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าที่ได้จะมีค่าสูงกว่าค่าขึ้นต่ำที่กำหนดไว้ เช่น ในโครงสร้างที่สูง 200 เมตร ค่าหน่วยแรงลมสถิติเทียบเท่าที่ระดับความสูงของโครงสร้าง จะให้ค่าที่มากกว่าที่กำหนดไว้ในข้อกำหนดฯ ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ | - |
dc.description.abstractalternative | At present, the design and construction of tall buildings are common in Bangkok and there is a trend towards taller and taller buildings. The Bangkok Metropolitan By - Law of 1979 has been in force for more than 10 years and the minimum values of wind pressure specified in it may be too low for application in very tall buildings, since the basis for arriving at the code values is limited to a height of approximately 100 meters. In this study an existing method of random vibration analysis of structures was employed to find the response of rectangular tall buildings under wind load. The equivalent static wind load was then obtained for use in the design of buildings. Based on the maximum annual wind velocity data at Don Muang meteorological station from 1951 - 1987, an extreme value theory was employed to get the probable extreme wind velocities in 50 and 100 year return period s. Analyses of structures against wind load were performed by using the method presented by Solari and the ASCE Committee on Wind Load and Dynamic Effects. The variables considered are the height, the width to height ratio, the aspect ratio and the natural frequencies of the structure, as well as the roughness of the terrain where structure is located. These variables were chosen to cover the range possibly found in practice. From the analyses, it is found that the mean wind pressure increases with increase in height whereas the gust response factor decreases, with the net result of increase in static wind pressure. Decreasing the width to height ratio from 1:3 to 1:7 results in an increase of the gust response factor of about 5 percent. Increasing the width to depth ratio results in insignificant increase of the gust response factor (less than 2 percent). For structures of the same height and proportion, the gust response factor for flexible structures is greater than that for stiffer structures, the difference being about 5 percent for the range of stiffness considered. The comparison between the results from this study and the wind pressure stipulated in the Bangkok Metropolitan By - Law shows that, when the height of the structure exceeds 100 meters, the equivalent static wind pressure found in this study is greater than the minimum value specified in the Bangkok Metropolitan By-Law. For example, for a structure of 200 meters in height, the equivalent static wind pressure at its top is about 25 percent more than the minimum value stipulated in the Bangkok Metropolitan By-Law. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อาคารสูง -- การออกแบบและการสร้าง | en_US |
dc.subject | อาคารสูง -- อากาศพลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การออกแบบโครงสร้าง | en_US |
dc.subject | Tall buildings -- Design and construction | en_US |
dc.subject | Tall buildings -- Aerodynamics | en_US |
dc.subject | Structural design | en_US |
dc.title | ค่าแรงลมสถิตเทียบเท่าเพื่อใช้ในการคำนวณออกแบบอาคารสูง ในกรุงเทพฯ | en_US |
dc.title.alternative | Eguivalent static wind load for design of high rise buildings in Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | fcerrj@eng.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Uthai_le_front_p.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_ch1_p.pdf | 930.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_ch2_p.pdf | 997.75 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_ch3_p.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_ch4_p.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_ch5_p.pdf | 676.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Uthai_le_back_p.pdf | 884.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.