Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74332
Title: การพัฒนากำลังของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ผสมขี้เถ้าลอย และขี้เถ้าแกลบ
Other Titles: Strengh development of portland cement mixed with fly ash and rich husk ash
Authors: อุดม หงษ์ประธานพร
Advisors: บุญสม เลิศหิรัญวงศ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ -- การทดสอบ
ขี้เถ้าลอย
ขี้เถ้าแกลบ
กำลังวัสดุ
Portland cement -- Testing
Fly ash
Rice hull ash
Strength of materials
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง คุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางวิศวกรรมปูนซีเมนต์ผสมขี้เถ้าลอย ในการวิจัยได้ใช้ขี้เถ้าลอยจากอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ซึ่งมีอนุภาคเม็ดกลม ผิวเรียบสีน้ำตาลเข้มขนาดประมาณ 7 ไมครอน ค่าความถ่วงจำเพาะ 2.56 และ ค่าดัชนีความเป็นปัซโซลาน 89% ขี้เถ้าแกลบจากจังหวัดราชบุรีมีอนุภาคมีเหลี่ยมผมสีขาวอมเทา ขนาดประมาณ 47 ไมครอนค่าความถ่วงจำเพาะ 2.04 และค่าดัชนีความเป็นปัซโชลาน 77% จากการทดสอบคุณสมบัติของปูนซีเมนต์ผสมขี้เถ้าลอยหรือขี้เถ้าแกลบ เมื่อแทนที่ปูนซีเมนต์ 10, 15, 20, 30, 40% โดยน้ำหนัก, พบว่าการพัฒนากำลังรับแรงจะเพิ่มขึ้นตามอายุการบ่ม แต่ในอัตราส่วนการแทนที่ของขี้เถ้าที่เหมาะสมที่ 20% จะให้การพัฒนาในช่วงอายุแรกต่ำกว่า แต่ในช่วงอายุหลังจะใช้การพัฒนากำลังสูงกว่าปูนซีเมนต์ล้วน จากการวิเคราะห์สารเชื่อมประสานโดย X-Ray Diffraction ให้ผลสอดคล้องกับการพัฒนากำลังรับแรงอัด คือการพัฒนาสารเชื่อมประสานในช่วงอายุแรกต่ำกว่า แต่ในช่วงอายุหลังสูงกว่าปูนเซีเมนต์ล้วน เปรียบเทียบระหว่างขี้เถ้าลอยและขี้เถ้าแกลบจะพบว่า ขี้เถ้าลอยให้การพัฒนากำลังดีกว่าขี้เถ้าแกลบเนื่องจากอนุภาคละเอียดกว่า ค่า W/c จะเพิ่มขึ้น ตามปริมาณขี้เถ้าที่เพิ่ม ทั้งขี้เถ้าลอยและขี้เถ้าแกลบ แต่ขี้เถ้าแกลบจะเพิ่มมากว่าค่า W/(c+ขี้เถ้า) จะลดลง 0.01 ทุก ๆ 10% ของขี้เถ้าลอยที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มขึ้น 0.338 ทุก ๆ 10% ของขี้เถ้าแกลบที่เพิ่มขึ้น
Other Abstract: The purpose of this research was to evaluate the physical and potential engineering properties of Portland cement mixed with Fly ash and Rice husk ash. It was found that the Fly ash from Mae Mao had a spherical participate shape with an average diameter of 7 microns, specific gravity of 2.56 and Pozzolanic index of 89%. It was found that the Rice Husk ash from Ratchaburi was found to have an angular particulate shape of width averaging 47 microns, Pozzolanic index of TTA and specific gravity of 2.04. The properties of various mixtures of Portland cement with Fly ash and Rice Husk ash were analysed using ratios of 0, 10, 15, 20, 30 and 10% by weight. The optimum amount of the combined ash was found to bo 20%. At this composition the primary compressive strength was decreased from that of Portland cement alone. However it was found that the strength of the final set vas greater than that of Portland cement. The components of the compound were also analysed by x-ray diffraction to ascertain the reason for the discrepancies in compressive strength. The Fly ash lehaved better than the Rice Husk ash because the particles were smaller and of more uniform shape. The W/C ratio of Fly ash therefore increased comparatively less than that of Rice husk ash. However, for every 10% increment of fly ash the ratio of W/cement + ash) was decreased 0.01 while for rice husk ash this ratio was increased 0.038 at the same condition.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมโยธา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74332
ISBN: 9745772585
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Udom_ho_front_p.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_ch1_p.pdf738.4 kBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_ch2_p.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_ch3_p.pdf811.39 kBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_ch4_p.pdf3.12 MBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_ch5_p.pdf744.22 kBAdobe PDFView/Open
Udom_ho_back_p.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.