Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์ชัย คิรินทร์ภาณุ-
dc.contributor.authorครรชิต ห่อวิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-20T04:12:31Z-
dc.date.available2021-08-20T04:12:31Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745692115-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัยของเขตห้วยขวาง จากปัจจัยพื้นฐานที่เขตห้วยขวางเป็นเขตขั้นในใกล้ใจกลางเมือง มีพื้นที่ชุมชนเมืองร้อยละ 51.46 ของพื้นที่เขตและมีพื้นที่ว่างผืนใหญ่อยู่ทางด้านตะวันออกของเขตซึ่งยังมิได้นำมาใช้ประโยชน์ และผลจากการพัฒนาการให้ที่ดินเป็นที่อยู่อาศัยอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปัญหาการใช้ที่ดินไม่คุ้มค่าและขยายตัวรุกเข้าสู่พื้นที่ว่างอย่างไม่มีระเบียบ ซึ่งมีผลก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่องหลายประการ ได้แก่ ปัญหาชุมชนแออัด ปัญหาการรักษาความปลอดภัย การจัดบริการสาธารณูปโภค และสภาพแวดล้อมเสื่อมลง ฉะนั้นจึงได้ศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาการใช้ที่ดินของเขตห้วยขวางโดยการนำเทคนิค Potential Surface Analysis มาวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่และประยุกต์แนวความคิดของทฤษฎีค่าเช่าของ David Ricardo มาประกอบพิจารณากำหนดแนวทางการพัฒนาการใช้ที่ดิน พ.ศ. 2544 จากการศึกษาโดยพิจารณาปัจจัยด้านถนนในปัจจุบันและถนนโครงการ สภาพการใช้ที่ดินปัจจุบันราคาที่ดิน และอุปสรรคของการพัฒนาคือ สภาพแนวคลองธรรมชาติและแนวทางรถไฟสายตะวันออกที่ผ่านพื้นที่ตอนล่างของเขต ทำให้ไม่สามารถพัฒนาการใช้ที่ดินใกล้เคียงได้อย่างคุ้มค่า และจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 และผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2544 จึงได้กำหนดแนวทางในการพัฒนาการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ดังนี้ - การใช้ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม กำหนดให้พาณิชยกรรมอาคารสูงอยู่ริมถนนสายหลัก และให้พาณิชยกรรมทั่วไปกระจายอยู่ในย่านชุมชนทั่วไป - การใช้ที่ดินประเภทอยู่อาศัย กำหนดให้ที่อยู่อาศัยอาคารสูง (หนาแน่นสูง) อยู่ทางด้านตะวันตกของถนนรัชดาภิเษกที่อยู่อาศัยอาคารทั่วไป (หนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย) อยู่ทางด้านตะวันออกของถนนรัชดาภิเษก-
dc.description.abstractalternativeNowadays there are many areas consisting of disorderly and densely located residential that affected to the problems of slum, security, pollution and public service facility, Huai Kwang district is selected as the case study with the reason that there have been a high spread rate of residential and large vacant land in the east of district. In addition, the urban community has located only half of area. The purpose of this study is to guide for the residential landuse development by concentrating various factors (existing landuse, existing road, land price, railway and natural canal line, public investment projects, Bangkok Metropolitan Administration Master Plan BE2524 and the Sixth National Five- Year Development Plan). The results of the study are used to identify the potential areas by means of Potential Surface Analysis (P.S.A.) and economic rent approach. The findings in the study indicate that the areas identified as very potential to high commercial buildings are located along the main roads. The others are distributed. In addition, the high residential buildings are located in the west of Ratchada Phisek road. On the other hand the rest of residentials are located on the other side of this road.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- ไทย -- ห้วยขวาง (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectการพัฒนาที่ดิน -- ไทย -- ห้วยขวาง (กรุงเทพฯ)en_US
dc.subjectLand use -- Thailand -- Huai Kwang (Bangkok)en_US
dc.titleการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ของเขตห้วยขวางen_US
dc.title.alternativeGuideline study for residential development of Huai Kwang Districen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการวางผังเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanchit_ho_front_p.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch1_p.pdf798.38 kBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch2_p.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch3_p.pdf9.41 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch4_p.pdf9.31 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch5_p.pdf6.06 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_ch6_p.pdf3.29 MBAdobe PDFView/Open
Kanchit_ho_back_p.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.