Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75343
Title: Novel electrospun titanium (IV) oxide composite hollow fibers as anode in lithium-ion batteries
Other Titles: วัสดุโครงสร้างเส้นใยกลวงเชิงประกอบ ไททาเนียม ออกไซด์ชนิดใหม่สำหรับการประยุกต์ใช้เป็นขั้วแอโนดในลิเธียมไอออน แบตเตอรี
Authors: Tanatchporn Sirimekanont
Advisors: Pitt Supaphol
Korakot Sombatmankhong
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Pitt.S@Chula.ac.th
Korakot.Som@Entec.or.th
Subjects: Titanium dioxide
Lithium ions
ไทเทเนียมไดออกไซด์
ลิเธียมไอออน
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Nanostructured transition metal oxides have been developed as electrode materials in Lithium-ion Batteries (LIBS) due to their ability to provide high capacity and improved cycling performance. Among these types, titanium oxide (TiO₂) has attracted considerable interesting owing to its high lithium intercalation property, minimal toxicity and small volume change during cycling. TiO₂, however, has low ionic and electronic conductivity. Therefore, this present work will focus on the structural modification of TiO₂ nanofibers to improve their efficiency. Accordingly, the hollow ZnO-TiO₂ and Ag₂O-TiO₂ composite hollow fibers will be prepared through coaxial electrospinning of the colloidal solution consisting of Titanium (IV) isopropoxide/ Poly (vinyl acetate)/ Zn particles and Ag particles in case of Ag₂O-TiO₂ fibers, followed by calcination in air at 500 ºC 1 h. Both of added Zn and Ag particles are employed as seeds to generate the growth of ZnO and Ag₂O crystals on the surface of TiO₂ using the hydrothermal treatment at various times and temperatures. The average diameter of both types of the products obtained after hydrothermal treatment increased with increasing time and temperature of hydrothermal treatment. XRD patterns revealed well crystalline features of anatase TiO₂ with ZnO, and Ag₂O. Additionally, the surface area of the obtained hollow fibers was observed by BET surface area. Among the hydrothermally treated ZnO-TiO₂ composite hollow fibers, the fibers which were treated at 115 ºC 0.5 h provided the highest surface area (25.164 m²gˉ¹) compared to the other hydrothermally treated ones. But in case of Ag₂O-TiO₂ composite hollow fibers, the fibers which were treated at 110 ºC 1 h provided the highest surface area (44.960 m²gˉ¹).
Other Abstract: โครงสร้างระดับนาโนของ ทรานซิชัน เมทัล ออกไซด์ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในการทำเป็นอิเล็กโทรดในลิเธียมไอออน แบตเตอรี โดย ไททาเนียม ออกไซด์ (TiO₂) ได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากมีโครงสร้างผลึกที่เหมาะสมในการให้ลิเธียมไอออนแทรกตัวในปริมาณสูง, ความเป็นพิษต่ำ, และเกิดการเปลี่ยนแปลงทางปริมาตรน้อยระหว่างกระบวนการให้และคายประจุ แต่อย่างไรก็ตามไททาเนียม ออกไซด์ มีความสามารถในการนำไอออนและอิเล็คตรอนต่ำ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาวิธีการปรับปรุงลักษณะพื้นผิวเส้นใยไททาเนียม ออกไซด์ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการนำไฟฟ้า โดยเส้นใยกลวงซึ่งเป็นวัสดุเชิงประกอบของ ซิงค์ ออกไซด์-ไททาเนียม ออกไซด์ และ ซิลเวอร์ ออกไซด์-ไททาเนียม ออกไซด์ ถูกเตรียมจากสารละลายคอลลอยค์ของ ไททาเนียม ไอโซโพรพอกไซด์ (TIP)/ พอลิไวนิล อะซิเตท (PVAc)/ อนุภาคของซิงค์ (Zn particles) และ ซิลเวอร์(Ag particles) ตามลำดับ ผ่านเทคนิค การปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้าสถิตย์แบบร่วมแกน (coaxial electrospinning) ตามด้วยกระบวนการเผา (calcination) ที่ 500 องศา เป็นเวลา 1 ชั่วโมง โดยอนุภาคของซิงค์ และ ซิลเวอร์ที่เติมลงไป จะถูกใช้เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดการเติบโตของผลึกซิงค์ ออกไซด์ และ ซิลเวอร์ ออกไซด์ บนผิวของเส้นใยกลวงผ่านกระบวนการให้ความร้อนด้วยน้ำ (hydrothermal treatment) ที่สภาวะต่าง ๆ จากผลการทดลอง พบว่าขนาดเส้นใยเฉลี่ยของวัสดุทั้งสองชนิดเพิ่มขึ้นตามเวลาและอุณหภูมิ ภายใต้กระบวนการให้ความร้อนด้วยน้ำ จากผลเอกซเรย์ดิฟแฟรกชัน (XRD) พบว่าเส้นใยกลวงทั้งสองชนิดประกอบโครงสร้างผลึกของอะนาเทส ไททาเนียม ออกไซด์ ร่วมกับ ซิงค์ ออกไซด์ และ ซิลเวอร์ ออกไซด์ นอกจากนี้ พื้นที่ผิวของวัสดุโครงสร้างเส้นใยกลวงเชิงประกอบ ไททาเนียม ออกไซด์ทั้งสองชนิด ได้ถูกตรวจสอบโดยเซอร์เฟส แอเรีย อะนาไลเซอร์ (BET) ผลการทดสอบพบว่าวัสดุโครงสร้างเส้นใยกลวงเชิงประกอบของซิงค์ ออกไซด์-ไททาเนียม ออกไซด์ที่สภาวะ 115 องศา 0.5 ชั่วโมง ให้ค่าพื้นที่ผิวสูงสุด ส่วนวัสดุโครงสร้างเส้นใยกลวงเชิงประกอบของซิลเวอร์ออกไซด์-ไททาเนียม ออกไซด์ที่สภาวะ 110 องศา 1 ชั่วโมง ให้ค่าพื้นที่ผิวสูงสุด
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75343
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2021
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.2021
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanatchporn_si_front_p.pdfCover and abstract1.13 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_ch1_p.pdfChapter 1640.11 kBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_ch2_p.pdfChapter 22.65 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_ch3_p.pdfChapter 3835.82 kBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_ch4_p.pdfChapter 44.92 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_ch5_p.pdfChapter 5661.13 kBAdobe PDFView/Open
Tanatchporn_si_back_p.pdfReference and appendix968.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.