Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75937
Title: Market liquidity and mutual fund performance during financial crisis
Other Titles: สภาพคล่องของตลาดและผลการดำเนินงานของกองทุนรวมในช่วงวิกฤติการเงิน
Authors: Matina O-warinrat
Advisors: Kanis Saengchote
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy
Subjects: Mutual funds
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Market illiquidity influences mutual fund performance differently between crisis and non-crisis period.  A significant drop in market liquidity makes investors panic leading to the early and large redemption. Fund managers have to liquidate the portfolio putting pressure on the asset prices, so the underperformance of mutual fund is recognized in non-crisis period. However, the result of illiquidity is different during crisis. The total effect of market illiquidity is positively related to all fund classes. This could then be interpreted as the evidence of management skills, market-timing and volatility-timing skills in fund managers to provide superior fund performance. Moreover, the further investigation on management strategy supports the evidence of manager skills in active fund to minimize the loss during the crisis.    
Other Abstract: สภาพคล่องของตลาดที่ลดลงส่งผลต่อผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่แตกต่างกันในช่วงวิกฤติและช่วงปกติ  โดยในช่วงปกติการลดลงของสภาพคล่องส่งผลให้นักลงทุนเกิดความตื่นตระหนกในการลงทุนในตลาดการเงิน จึงเกิดแรงเทขายกองทุนรวมออกอย่างรวดเร็วและเป็นจำนวนมากซึ่งสร้างความยากลำบากให้กับผู้จัดการในการบริหารกองทุนรวมเนื่องจากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิกองทุนรวมจะถูกกดดันให้ลดลง และส่งผลกระทบทางลบต่อผลการดำเนินงานของกองทุนรวม ในทางกลับกันการที่สภาพคล่องของตลาดนั้นลดลงในช่วงวิกฤติ ถือเป็นโอกาสของผู้จัดการกองทุนรวมในการการแสดงฝีมือและทักษะการบริหารกองทุน โดยงานวิจัยนี้ค้นพบว่าสภาพคล่องที่ลดลงในช่วงวิกฤติส่งผลกระทบทางบวกโดยรวมต่อกองทุนรวมตลาดเงิน กองทุนรวมตราสารหนี้ และกองทุนรวมตราสารทุน ซึ่งถูกสนับสนุนโดยงานวิจัยเรื่องทักษะการจับจังหวะของตลาดและการจับจังหวะความผันผวนของผู้จัดการกองทุนรวมที่ส่งผลให้กองทุนมีผลตอบแทนที่ดีอยู่ในขณะที่ตลาดมีสภาพคล่องต่ำ นอกจากนี้งานวิจัยได้แบ่งประเภทกองทุนรวมออกเป็นกองทุนรวมที่มีกลยุทธ์การบริหารเชิงรุกและกองทุนรวมที่มีกลยุทธ์การบริหารเชิงรับ โดยค้นพบว่าผู้จัดการกองทุนรวมเชิงรุกมีทักษะในการลดการขาดทุนของกองทุนได้ดีกว่ากองทุนรวมเชิงรับ ซึ่งเป็นการชี้ให้เห็นถึงความสามารถของผู้จัดการกองทุนรวมในการรับมือกับความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของตลาดในช่วงวิกฤต
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2020
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Finance
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75937
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.210
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2020.210
Type: Thesis
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6284056826.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.