Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7625
Title: | แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัวในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ พ.ศ.2537 |
Other Titles: | Family concepts as portrayed in 1994 television commercials |
Authors: | ยิ่งสุพร อาจองค์ |
Advisors: | สุวัฒนา วงษ์กะพันธ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Suwattana.V@chula.ac.th |
Subjects: | การวิเคราะห์เนื้อหา ครอบครัว ครอบครัว ภาพยนตร์โฆษณา โฆษณาทางโทรทัศน์ |
Issue Date: | 2539 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | เพื่อศึกษารูปแบบและกลวิธีการนำเสนอแนวคิดเรื่องครอบครัว ในงานโฆษณาทางโทรทัศน์ เพื่อศึกษาการสร้างแนวคิดของสารโฆษณา ที่ปรากฏแนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวของนักสร้างสรรค์โฆษณา และเพื่อศึกษาว่าประเภทของสินค้าหรือบริการ มีความเกี่ยวข้องต่อการนำเสนอแนวคิดเรื่องครอบครัวหรือไม่ อย่างไร ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้คือ การวิเคราะห์เนื้อหาจากภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกนักสร้างสรรค์โฆษณา ผลการวิจัยพบว่า การกำหนดแนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวมาจากแนวคิดหลักทางการโฆษณาแนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวที่ปรากฏอยู่ในภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ นำเสนอในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับกลยุทธในการนำเสนอสารโฆษณา นักโฆษณามีความเห็นว่า ประเภทของสินค้าหรือบริการอาจมีความสัมพันธ์ หรือไม่มีความสัมพันธ์ต่อแนวคิดเกี่ยวกับครอบครัวที่อยู่ในงานโฆษณาเลยก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ แนวคิดหลักทางการโฆษณา ภาพลักษณ์ของสินค้า บุคลิกภาพของสินค้า คุณลักษณะและคุณประโยชน์ของสินค้า นอกเหนือจากนี้แล้วปัจจัยที่มีอิทธิพลอีกอย่างหนึ่งก็คือ ความคิดของนักสร้างสรรค์โฆษณาที่ต้องการนำเสนอเรื่องเกี่ยวกับครอบครัวในงานโฆษณา |
Other Abstract: | To study the presentation techique; advertising messages, appeals, and concepts; as well as the use of family concept in television commercials. A content analysis along with depth-interview of creative men. Results indicated that family concept was used in a variety of ways, depending upon the main concept of advertisement: product images, product characteristics and product features; as well as the creative men's ideas. Results also show that product catagory is not nessesary be a major factor influencing the use of family concept as portrayed in the television commercials. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
Degree Name: | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การสื่อสารมวลชน |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7625 |
ISBN: | 9746355589 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Yingsuporn_Ar_front.pdf | 840.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_ch1.pdf | 878.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_ch2.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_ch3.pdf | 784.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_ch4.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_ch5.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Yingsuporn_Ar_back.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.