Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77172
Title: | Key success factors of area business continuity management based on stakeholders’ perspective using AHP method: a case study of an automotive component company in Ayutthaya province, Thailand |
Other Titles: | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจในระดับพื้นที่จากมุมมองของผู้มีส่วนได้เสียโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น: กรณีศึกษา บริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในจังหวัดอยุธยา |
Authors: | Sansanee Sapapthai |
Advisors: | Natt Leelawat |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Subjects: | Business planning การวางแผนธุรกิจ |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The 2011 Thailand floods caused extensive damages widely areas. Especially in the manufacturing sector, it is not the only individual company but also the supply chain disruption. Area Business Continuity Management (Area-BCM) is a valuable system that helps businesses successfully reduce flood damage. To achieve the project's ultimate goal, a significant factor that impacts Area-BCM activities is essential. Delphi method with 10 Business Continuity Management (BCM) experts was employed to identify potential success factors. Further, Analytic Hierarchy Process (AHP) was applied to examine the relative weight of importance in a total of 20 factors that can be separated into 4 main categories: Organizational influence, Project management, Operational framework, and BCM capability. 24 effective questionnaires were gathered from employees who have worked on the BCM in a study company and representatives from important stakeholders. The consistency values of all categories are less than 0.1, indicating that all employees made consistent judgments. As a result, the BCM Capability is the most critical category leading to successful Area-BCM implementation. Furthermore, the result showed the factors influential a successful Area-BCM as 1.) Competent BCM project manager, 2.) BCM expertise of BCM team members, 3.) Top management perception and support of BCM, 4.) BCM goals, 5.) Mutual understanding among BCM team members, 6.) Strong relationship and involvement of BCM team members, 7.) Management commitment focusing on BCM, 8.) Aligned BCM needs of team members, 9.) Clear realistic BCM objectives, 10.) Benefit of BCM, 11.) Effective BCM internal information sharing, and 12.) Effective BCM external information sharing during the emergency situation, respectively. |
Other Abstract: | เหตุการณ์อุทกภัยในประเทศไทยปี 2554 สร้างความเสียหายอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคการผลิตที่ไม่เพียงส่งผลต่อบริษัท แต่ยังส่งผลต่อการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน แผนการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจในระดับพื้นที่ (Area-BCM) สามารถช่วยลดความเสียหายจากอุทกภัยให้กับภาคธุรกิจได้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดของโครงการ ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อกิจกรรม Area-BCM จึงมีความสำคัญ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดทำแผน Area-BCM โดยใช้วิธีเดลฟาย (Delphi) กับผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCM) 10 คนในการระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการจัดทำแผน Area-BCM จากนั้นใช้กระบวนการวิเคราะห์ตามลําดับชั้น (AHP) เพื่อตรวจสอบน้ำหนักความสำคัญทั้ง 20 ปัจจัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ อิทธิพลขององค์กร การบริหารจัดการโครงการ กรอบการดำเนินงาน และความสามารถด้าน BCM จากนั้นทำการรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดจากพนักงานที่ทำงานเกี่ยวข้องกับ BCM ในบริษัทกรณีศึกษาและตัวแทนจากผู้มีส่วนได้เสียที่สำคัญรวมทั้งสิ้น 24 คน ค่าความสอดคล้อง ของทุกหมวดมีผลคำนวณน้อยกว่า 0.1 ซึ่งบ่งชี้ว่าพนักงานทุกคนใช้ดุลยพินิจที่สอดคล้องกัน พบว่า ความสามารถด้าน BCM เป็นหมวดหมู่สำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จในการดำเนินการ Area-BCM นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินการ Area-BCM ได้แก่ 1.) ผู้บริหารโครงการที่มีความสามารถ 2.) ความเชี่ยวชาญด้าน BCM ของสมาชิกในทีม BCM 3.) การรับรู้ของผู้บริหารระดับสูงและการสนับสนุน BCM 4.) เป้าหมายของ BCM 5.) ความเข้าใจร่วมกันระหว่างสมาชิกในทีม BCM 6.) ความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมที่ดีของสมาชิกในทีม 7.) ความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นจัดทำแผน BCM 8.) สมาชิกในทีมมีการตกลงความต้องการร่วมกัน 9.) วัตถุประสงค์ในการทำแผน BCM ที่ชัดเจนและเป็นไปได้ 10.) ประโยชน์ของแผน BCM 11.) การแบ่งปันข้อมูล BCM ภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และ 12.) การแบ่งปันข้อมูล BCM ระหว่างองค์กรในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ ตามลำดับ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2020 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Industrial Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77172 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.261 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.261 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6170284121.pdf | 5.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.