Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77295
Title: | Sop development for ERP/software project management of a consulting company |
Other Titles: | การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของบริษัทที่ปรึกษาสำหรับการบริหารโครงการลงระบบอีอาร์พี/ซอฟต์แวร์ |
Authors: | Piyanat Viengcome |
Advisors: | Parames Chutima |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Presently, ERP/software consulting company has experienced in information gathering process from users in customer company which lead to insufficient to-be process development and vendor selection process. The unexpected results would be extra budget and high manual workload in organization. The possible root cause is uncleared procedure to proceed the project management in ERP/software implementation. The objective of this research is to develop the standard operating procedure for ERP/software project management of a consulting company concentrated in manufacturing industry in Thailand. The methodology starts with studying of competitors’ approach from their websites. The ERP expert interview is the next step, 3 experts were interviewed to gain the key points of each process of the project. Finally, the focused group was executed to brainstorm and digest the information to create new procedure. The result shows that there are 3 phases of the project which are Pre-assessment, Assessment and Post-assessment phase. The most important phase is the assessment phase. The interview techniques were adapted into use which are the question list preparation, narrative analysis by letting user explain their daily operations, and whiteboarding to visualize the user’s thought into easy figure and constructive processes. Having established new procedure, the reviews from ERP experts who used to be the stakeholder and experienced in another consulting firms are utilized to revise the procedure. Moreover, ERP experts evaluate that this standard operating procedure can be valid into actual use. |
Other Abstract: | ในปัจจุบัน บริษัทที่ปรึกษาด้านระบบอีอาร์พี/ซอฟต์แวร์ประสบปัญหาในส่วนของการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งานในระบบของบริษัทลูกค้า ส่งผลทำให้การออกแบบกระบวนการทำงานและกระบวนการเลือกระบบที่เหมาะสมในองค์กรลูกค้าไม่มีประสิทธิภาพ และทำให้เกิดปัญหาในอนาคต เช่น เกิดงบประมาณมากกว่าที่วางแผนไว้ และเกิดการทำงานนอกระบบที่มากกว่าจำเป็น เป็นต้น โดยสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาเหล่านี้ คือ ขั้นตอนการทำงานในโครงการตั้งแต่ต้นจนจบไม่ชัดเจนและไม่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานของบริษัทที่ปรึกษาสำหรับการบริหารโครงการลงระบบอีอาร์พี/ซอฟต์แวร์ โดยเจาะจงที่กลุ่มบริษัทการผลิตในประเทศไทย โดยเริ่มจากศึกษาแนวทางการทำงานของบริษัทคู่แข่งจากเว็บไซต์ จากนั้นมีการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านอีอาร์พีทั้งหมด 3 ท่าน เพื่อขอคำแนะนำในการปฏิบัติงานโดยรูปแบบเป็นการถามตอบแบบละเอียดผ่านชุดคำถาม และมีการนำข้อมูลมาเข้ากลุ่มวิเคราะห์เพื่อให้ได้มาตรฐานปฏิบัติงานที่ครบถ้วน ผลลัพธ์ของงานวิจัยสามารถแบ่งขั้นตอนการทำงานออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเตรียมตัว (Pre-assessment phase), ระยะเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ (Assessment phase) และระยะส่งมอบงาน (Post-assessment phase) โดยระยะที่สำคัญคือ ระยะเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ ได้มีการนำเทคนิคการสัมภาษณ์มาใช้ในช่วงเวลาการสัมภาษณ์ด้วย ได้แก่ การเตรียมชุดคำถามทั่วไปที่ต้องเพื่อใช้ถามผู้ใช้งานในระบบ การให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อธิบายการทำงานในปัจจุบันเพื่อรับฟังปัญหาและวิธีที่ผู้ใช้งานแก้ไขด้วยตนเอง และการใช้กระดานไวท์บอร์ดช่วยในการสนับสนุนการสื่อข้อมูลของผู้ใช้ระบบให้ชัดเจนและเป็นลำดับขั้นตอนมากขึ้น หลักจากพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานเสร็จสิ้น ได้มีการขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญด้านระบบอีอาร์พีซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในฐานะลูกค้าและผู้ลงระบบ รวมทั้งยังเคยทำงานในบริษัทที่ปรึกษาแห่งอื่น เพื่อให้คำแนะนำในการปรับปรุงมาตรฐานการทำงานให้ดีขึ้น จากนั้นผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าสามารถนำมาตรฐานการปฏิบัตินี้ไปใช้งานได้ โดยหากพบขั้นตอนที่ไม่สมบูรณ์ให้บันทึกไว้และนำมาปรับปรุงในครั้งขั้นไป |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2020 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Engineering Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77295 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.174 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.174 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6270803521.pdf | 5.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.