Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7729
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวิมล ว่องวาณิช | - |
dc.contributor.advisor | นงลักษณ์ วิรัชชัย | - |
dc.contributor.author | คมศร วงษ์รักษา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2008-08-07T04:37:23Z | - |
dc.date.available | 2008-08-07T04:37:23Z | - |
dc.date.issued | 2540 | - |
dc.identifier.isbn | 9746388061 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7729 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 | en |
dc.description.abstract | เปรียบเทียบคุณภาพและความสอดคล้องของเทคนิคการจัดเรียงลำดับ ความสำคัญในการประเมินความต้องการจำเป็น ซึ่งมี 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 มี 4 วิธี คือ MDF,PNla, PNlb และ t-test กลุ่มที่ 2 มี 5 วิธี ได้แก่ Del-Na, Del-Nb, Del-Nc, Del-Nd และ Del-Ne กลุ่มที่ 3 มี 5 วิธี ได้แก่ WNla, WNlb, WNlc, WNld และ WNle โดยศึกษาในบริบทของการพัฒนาบุคลากร ของกรมอาชีวศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ อาจารย์ผู้สอนอยู่ในแผนกวิชาช่างอุตสาหกรรม จากวิทยาลัยเทคนิค 27 แห่ง ที่อยู่ในภาคกลางและภาคตะวันออก จำนวน 1,200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ประกอบการทำกระบวนการกลุ่มสมมุตินัย การวิจัยแบ่งเป็น 2 ตอนคือ ตอนที่ 1) การหาความสอดคล้อง ของผลการจัดเรียงลำดับความสำคัญจากเทคนิควิธี โดยใช้วิธีการศึกษาจากข้อมูลประชากรและเทคนิคมอนติ คาร์โล ตอนที่ 2) การหาคุณภาพของเทคนิควิธี โดยพิจารณาจากค่าความเที่ยงแบบสอบซ้ำ และค่าความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ ในการจัดเรียงลำดับ ผลการวิจัยพบว่า ความสอดคล้องของเทคนิควิธีทั้งหมดในกลุ่มที่ 1, 2, 3 มีค่าสูง คือ .9242, .9811 และ .9743 ตามลำดับ ผลการศึกษาจากเทคนิคมอนติ คาร์โล พบว่าวิธี PNlb มีผลการจัดเรียงลำดับ ใกล้เคียงกับที่เกิดขึ้นในประชากรมากกว่าวิธีอื่นๆ ความเที่ยงแบบการวัดซ้ำของทุกเทคนิควิธีมีค่าสูงและใกล้เคียงกัน วิธีที่ให้ค่าความตรงในการจัดลำดับสูงสุดคือ Del-Nd และ Del-Ne | en |
dc.description.abstractalternative | To compare the quality and consistency of priority setting techniques in needs assessment based on discrepancy model in three groups with 14 techniques : Group 1 (MDF, PNla, PNlb, t-test), Group 2 (Del-Na, Del-Nb, Del-Nc, Del-Nd, Del-Ne), and Group 3 (WNla, WNlb, WNlc, WNld, WNle). All 14 techniques were applied to staff development in Department of Vocational Education. The population were 1,200 teachers in a division of industrial technician, who were teaching in 27 technical colleges in eastern and central parts of Thailand. The research tools were questionnaire, interviews, and nominal group technique. The research was conducted into two phases : 1) finding the consistency of priority setting techniques based on entire population and Monte Carlo Technique 2) studying the test-retest reliability and criterion-related validity of the rankings among the techniques. Results indicated that the consistency of the rankings within each group was very high with rank coefficients of .9242, .9811, and .9743 in Group 1, 2 and 3, respectively. Monte Carlo technique showed that PNlb's ranking was the most identical to the population. Test-retest reliability coefficients of the rankings obtained from all techniques were high and similar to one another. Del-Nd and Del-Nc yielded the most valid rankings | en |
dc.format.extent | 1247783 bytes | - |
dc.format.extent | 1223507 bytes | - |
dc.format.extent | 3316807 bytes | - |
dc.format.extent | 1657823 bytes | - |
dc.format.extent | 2369606 bytes | - |
dc.format.extent | 1228608 bytes | - |
dc.format.extent | 3897770 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การประเมินความต้องการจำเป็น | en |
dc.title | การเปรียบเทียบคุณภาพและความสอดคล้อง ของเทคนิคการจัดเรียงลำดับความสำคัญ ที่อิงโมเดลความแตกต่างในการประเมินความต้องการจำเป็น | en |
dc.title.alternative | Comparison of quality and consistency of priority setting techniques in needs assessment based on discrepancy model | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | การวัดและประเมินผลการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | wsuwimon@chula.ac.th | - |
dc.email.author | Nonglak.W@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Komsorn_Wo_front.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_ch1.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_ch2.pdf | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_ch3.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_ch4.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_ch5.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Komsorn_Wo_back.pdf | 3.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.