Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77422
Title: La place de la mort dans l'oeuvre poetique de Ronsard
Other Titles: ความตาย ในกวีนิพนธ์ของรงซาร์ด
Authors: Warunee Udomsilpa
Advisors: Pia Pierre
Other author: Chulalongkorn University. Grauate School
Subjects: Ronsard, Pierre de, 1524-1585 -- Criticism and interpretation
Death in literature
French poetry -- History and criticism
รงซาร์ด, ปิแอร์ เดอ, ค.ศ.1524-4585 -- การวิจารณ์และการตีความ
ความตายในวรรณกรรม
กวีนิพนธ์ฝรั่งเศส -- ประวัติและวิจารณ์
Issue Date: 1991
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: On ne peut pas nier que pour 1’homme du XVIͤ siècle, le rapport de la vie et de la mort est souvent cruel. La mort est là à vous attendre au détour d’un couloir. Elle apparaît comme le personage principal de la littérature de la Renaissance francaise. Nombreuses sont les oenuvres littérature de cette époque, qui sont là pour le témoigner. Le dessein de cette recherche est de montrer que la mort hante la poésie de Ronsars. Au fil de son oeuvre, nous notons une omniprésente principalement exprimée selon la foi chrétienne et 1’héritage intellectual de l’Humanisme antique. L’ épicurisme qu’on presume être la profession de foi de Ronsard est certainement une consequence de son obsession de la mort. L’alliance antithétique chez notre poète, à la fois humaniste par mode, pourtant chrétien par l’esprit, nous permet de reconnaître le gout d’une époque, caracterisé par une antionomie évidente
Other Abstract: ความตายเป็นสิ่งที่น่าสะพรึงกลัวสำหรับชีวิตในสมัยศตวรรษที่ 16 ตามความรู้สึกของคนในยุคนี้ดูเหมือนกับว่าความตายได้มารออยู่ตรงหน้า ความตายจึงมีบทบาทสำคัญ ซึ่งปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน ในวรรณคดีฝรั่งเศสยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ การวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้าเสนอแนวคิดเรื่องความตายที่ปรากฏในกวีนิพนธ์ของรงซารด์อย่างสม่ำเสมอ กวีได้ แสดงภาพความตามตายตามความเชื่อทางคริสต์ศาสนาและโดยอาศัยมรดกทางภูมิปัญญาจากกระแสความ คิดแนวมนุษย์นิยมตามแบบกรีกและโรมันโบราณ การปฏิบัติตามคติสุขนิยมแนวเอพิคิวรัสดังที่รงซารด์ได้เสนอแนะไว้ในกวีนิพนธ์นั้น เป็นผลสะท้อนประการหนึ่งจากความคิดที่ว่าความตายปรากฏอยู่ทุกหนแห่ง ความผสมผสานกลมกลีนกันระหว่างความเยื่อจากคริสต์ศาสนากับแนวมนุษย์นิยม ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน โดยสิ้นเชิงดังที่ปรากฏในผลงานของกวีผู้นี้ เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะของยุคฟื้นฟู ศิลปะวิทยาการในประเทศฝรั่งเศส อันได้แก่ ความสามารถในการประสานสิ่งที่มีลักษณะขัดแย้งกันอยู่ในตัวให้เข้ากันได้อย่างแนบเนียน
Description: Thesis (M.A.) -- Chulalongkorn University, 1991
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77422
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.1991.632
ISBN: 9745790436
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.1991.632
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warunee_ud_front_p.pdfCover and abstract881.21 kBAdobe PDFView/Open
Warunee_ud_ch0_p.pdfIntroduction787.62 kBAdobe PDFView/Open
Warunee_ud_ch1_p.pdfChapter 13.1 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_ud_ch2_p.pdfChapter 22.25 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_ud_ch3_p.pdfChapter 32.2 MBAdobe PDFView/Open
Warunee_ud_back_p.pdfReference and appendix798.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.