Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAnuvat Sirivat-
dc.contributor.authorWatchara Sangwan-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College-
dc.date.accessioned2021-10-08T07:00:16Z-
dc.date.available2021-10-08T07:00:16Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77526-
dc.descriptionThesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractActuator is a mechanical device for displacing a system component under some kind of energy. For the actuating applications, it should provide a large deformation under activated energy. Generally. electric field is offer used to induce material deformation and certain electroactive polymers can offer large mechanical responses under electric field. The aims of this work are to study the effects of concentration and type of surfactant on the synthesized Polycarbazole (PCB), and to use it as conductive filler in sodium alginate hydrogels (SA). The electromechanical properties of materials under the influence of the electric field strength were investigated. The electromechanical properties of pristine SA were studied under effects of crosslinking type and SA molecular weight. The electromechanical properties of properties of PCB/SA composites were studied under the effect of PCB concentration. The particle shape of PCB synthesized by cetyltrimethylammonium bromide was of the connected hollow microsphere which showed the highest electrical conductivity (2.62x 10⁻³ S/cm). The electromechanical properties of pristine SA crosslinked by an ionic crosslinking agent were higher than those of the covalent crosslinking. Moreover. The electromechanical responses of SA increased with increasing molecular weight. Finally, the electromechanical responses of the PCB/SA composite was the highest at 0.10 % v/v PCB.-
dc.description.abstractalternativeแอกชูเอเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างภายใต้การให้พลัง งาน โดยทั่วไปสนามไฟฟ้าจะถูกใช้ในการเหนี่ยวนำให้เกิดการเคลื่อนไหวหรือการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของแอก ชูเอเตอร์ พอลิเมอร์ที่มีคุณสมบัติในการตอบสนองทางไฟฟ้าเป็นหนึ่งในตัวเลือกสำหรับการนำมาประยุกต์ใช้ งานเป็นแอกชูเอเตอร์ ซึ่งวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การเตรียมแอกชูเอเตอร์จากพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิคาร์บาโซลและโซเดียมแอลจิเนตไฮโดรเจล ในขั้นตอนแรก เป็นการศึกษาผลของชนิดและความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวที่มีต่อรูปร่าง ขนาด และค่าการนำไฟฟ้าของพอลิคาร์บาโซล ซึ่งจะถูกนำไปใช้เป็นสารตัวเติมในการเตรียมพอลิเมอร์ผสมต่อไปในขั้นที่สอง เป็นการศึกษาผลของน้ำหนักโมเลกุลของโซเดียมแอลจิเนต และชนิดของการเชื่อมขวาง (การเชื่อมขวางเชิงกายภาพและการเชื่อมขวางเชิงเคมี) ต่อสมบัติการตอบสนองเชิงกลทางไฟฟ้าของโซเดียมแอลจิเนตไฮโดรเจล ส่วนที่สาม เป็นการศึกษาผลของความเข้มข้นของพอลิคาร์บาโซลที่เติมลงไปในเนื้อพื้นโซเดียมแอลจิเนตไฮโดรเจล ต่อสมบัติเชิงกลทางไฟฟ้าของพอลิเมอร์ผสม ซึ่งจาก ผลการศึกษาพบว่า พอลิคาร์บาโซลที่สังเคราะห์โดยการเติมซิทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์เป็นสารลดแรงตึงผิว ทำให้พอลิคาร์บาโซลที่สังเคราะห์ได้มีค่าการนำไฟฟ้ามากที่สุด ซึ่งเท่ากับ 2.62 x10⁻³ ซีเมนต์ต่อเซนติเมตร และรูปร่างของพอลิคาร์บาโซลที่ได้คือ รูปทรงกลมกลวงที่มีการเชื่อมติดกัน และผลของการศึกษา สมบัติเชิงกลทางไฟฟ้าของโซเดียมแอลจิเนตพบว่า โซเดียมแอลจิเนตที่เชื่อมขวางเชิงกายภาพให้ค่าการตอบ สนองเชิงกลทางไฟฟ้ามากกว่าการเชื่อมขวางเชิงเคมี นอกจากนี้ การตอบสนองเชิงกลทางไฟฟ้ามีค่าเพิ่มขึ้น เมื่อน้ำหนักโมเลกุลของพอลิคาร์บาโซลเพิ่มขึ้น และในกรณีของพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิคาร์บาโซลและโซเดียมแอลจิเนตพบว่า การตอบสนองเชิงกลทางไฟฟ้ามีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของพอลิคาร์บาโซลเท่า กับ 0.10 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตรของพอลิคาร์บาโซล-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1496-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectElectric conductivity-
dc.subjectPolycarbazole-
dc.subjectการนำไฟฟ้า-
dc.subjectพอลิคาร์บาโชล-
dc.titleElectrically responsive materials based on polycarbazole/sodium alginate bio-hydrogel blends for actuatoren_US
dc.title.alternativeการศึกษาสมบัติเชิงกลทางไฟฟ้าของพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิคาร์บาโซลและโซเดียมแอลจิเนตเพื่อใช้ในงานแอกชูเอเตอร์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePolymer Scienceen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorAnuvat.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1496-
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watchara_sa_front_p.pdfCover and abstract1.24 MBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch1_p.pdfChapter 1638.63 kBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch2_p.pdfChapter 21.63 MBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch3_p.pdfChapter 3778.12 kBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch4_p.pdfChapter 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch5_p.pdfChapter 52.12 MBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_ch6_p.pdfบทที่ 6629.4 kBAdobe PDFView/Open
Watchara_sa_back_p.pdfReference and appendix5.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.