Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัชพล จิตติรัตน์-
dc.contributor.authorณภัทร์กมล ศรีสกุลภิญโญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-10-28T07:59:14Z-
dc.date.available2021-10-28T07:59:14Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77650-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ยังมีปัญหาในเรื่องการพิเคราะห์เจตนาของ ผู้กระทําความผิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีของการสําคัญผิดในสาระสําคัญของข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบ ความผิดตามมาตรา ๖๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หากผู้กระทําผิดสําคัญผิดว่าตนเองนั้นมีเหตุในการยกเว้น การขอคํายินยอมตามมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ผลในทางกฎหมาย จะเป็นเช่นไร และการบัญญัติข้อยกเว้นในลักษณะดังกล่าวจะเป็นไปได้เพียงใดที่จะก่อให้เกิดความสําคัญผิดขึ้นได้ การศึกษาของรายงานฉบับนี้จะมุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ปัญหาในการสําคัญผิดในสาระสําคัญของข้อเท็จจริงใน ข้อยกเว้นความยินยอมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา ๒๔(๓) และมาตรา ๒๔(๕) ประกอบ กับทฤษฎีองค์ประกอบความรับผิดทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๒ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์(e-Commerce) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการศึกษาของรายงานฉบับนี้จะมุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ปัญหาในการสําคัญ ผิดในสาระสําคัญของข้อเท็จจริงในข้อยกเว้นความยินยอมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา ๒๔(๓) และมาตรา ๒๔(๕) ประกอบกับทฤษฎีองค์ประกอบความรับผิดทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๒ ที่มีผลกระทบต่อธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์e-Commerce โดยใช้วิธีศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางเอกสาร และรวบรวมข้อมูลต่างจาก ตําราวิชาการ บทความ และแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือทางอินเตอร์เน็ต พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒๔ (๓) และ มาตรา ๒๔(๕) ห้ามมิให้ผู้ ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลทําการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล เว้นแต่ เป็นการจําเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการ ดําเนินการตามคําขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทําสัญญานั้นและฐานผลประโยชน์ที่ชอบด้วยกฎหมาย การตีความข้อยกเว้นความยินยอมฐานผลประโยชน์ที่ชอบด้วยกฎหมายมีความอ่อนไหวในการใช้งานต้อง มีการตีความตามองค์ประกอบความรับผิดทางอาญาโดยจะใช้ฐานการสําคัญผิดในข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมาย อาญาและเนื่องจากการในพระราชบัญญัติฉบับนี้ไม่มีข้อยกเว้นสําหรับการพัฒนาธุรกิจและข้อยกเว้นในการขอ ความยินยอมก็มีความไม่ชัดเจนในขอบเขตการใช้งานข้อมูลส่วนบุคคลจึงนําไปสู่ความเสี่ยงในการทําผิดหมาย คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจากความเข้าใจผิดในสาระสําคัญของผู้ประกอบการen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.132-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกฎหมายอาญาen_US
dc.subjectการป้องกันข้อมูล -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleการสำคัญผิดในสาระสำคัญของข้อเท็จจริงในข้อยกเว้นความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ และผลทางกฎหมายอาญาen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornatchapol.j@chula.ac.th-
dc.subject.keywordข้อมูลส่วนบุคคลen_US
dc.subject.keywordพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.132-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280028634.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.