Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมพัทธ์ ราชประดิษฐ์-
dc.contributor.authorปลิดา วัฒนจิราพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-10-29T08:45:35Z-
dc.date.available2021-10-29T08:45:35Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77668-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการตรวจสอบและการจัดเก็บภาษีของ เจ้าหน้าที่สรรพากรความหมายและปัญหาที่เกิดขึ้นใน กรณีการประกอบธุรกรรมด้วยเงินสด แล้วนำมาเปรียบเทียบการตรวจสอบและการจัดเก็บภาษีในต่างประเทศ เพื่อให้ทราบถึงข้อดีข้อเสีย ของมาตรการและวิธีการต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบจากการประกอบธุรกรรมด้วยเงินสด นำไปสู่แนวทาง การแก้ไขและวิธีการ มาตรการในการตรวจสอบและการจัดเก็บภาษีกรณีการประกอบธุรกรรมด้วย เงินสด เพื่อให้การตรวจสอบและการจัดเก็บภาษีถูกต้องและครบถ้วน จากการศึกษา พบว่ามาตรการทางกฎหมายรวมถึงการกำหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการ บริหารความเสี่ยง การรณรงค์เพื่อเป็นการจูงใจ การสนับสนุน ในเรื่องการทำธุรกรรมเป็นเงินสดยังไม่ มีประสิทธิภาพเพียงพอ ประกอบกับหลักเกณฑ์ในการตรวจสอบและจัดเก็บภาษีของเจ้าพนักงานยัง ขาดประสิทธิภาพเนื่องจากมีการประเมินความเสี่ยงของผู้เสียภาษีหลังจากการยื่นแบบแสดงรายการ รวมทั้งการใช้อำนาจและดุลยพินิจของเจ้าพนักงานในการประเมินภาษี ทำให้ผู้เสียภาษีมีทัศนคติ ที่ไม่ดีกับผู้ตรวจสอบอีกทั้งยังขาดหลักฐานเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ของเจ้าพนักงาน ขาดมาตรการจูงใจและการบังคับใช้ ให้ประชาชนมีการลดการใช้เงินสดในการทำธุรกรรม ในขณะที่ต่างประเทศ เช่น ประเทศสิงคโปร์และประเทศสวีเดน มีการนำมาตรการ การบริหารความเสี่ยงมาใช้ก่อนทำการประเมินการตรวจสอบ และมีมาตรการจูงใจและการบังคับ ให้ผู้ประกอบการมีการลดการใช้เงินสดเพื่อจะใช้เป็นฐานข้อมูลในการประเมินความเสี่ยง ตามหลักการบริหารความเสี่ยง ดังนั้น ผู้เขียนจึงเห็นว่าควรมีการศึกษาและนำแนวทางการใช้ มาตรการต่าง ๆ ของประเทศสวีเดนและประเทศสิงคโปร์นำมาปรับปรุงและปรับใช้ในประเทศไทย ที่เป็นการตรวจสอบและจัดเก็บภาษีในกลุ่มธุรกิจที่รับชำระเป็นเงินสด เพื่อให้แก้ไขปัญหาการเลี่ยง การตรวจสอบภาษีจากการรับช าระและบริการเป็นเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.135-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการจัดเก็บภาษีen_US
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาen_US
dc.titleปัญหาการตรวจสอบการจัดเก็บภาษีกรณีการประกอบธุรกรรมด้วยเงินสดen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorwimpat.r@chula.ac.th-
dc.subject.keywordธุรกรรมเงินสดen_US
dc.subject.keywordการตรวจสอบภาษีen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.135-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280051034.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.