Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7801
Title: ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงความจำระยะสั้นกับความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์เคมีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5
Other Titles: The relationship between short-term memory and ability in solving chemistry problems of the upper secondary school students in the schools under the jurisdiction of the Department of General Education, educational region five
Authors: พูลศิริ สรหงษ์
Advisors: พิมพันธ์ เดชะคุปต์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Pimpan.d@chula.ac.th
Subjects: ความจำระยะสั้น
การแก้ปัญหา
เคมี
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาช่วงความจำระยะสั้นและความสามารถในการแก้ปัญาโจทย์เคมี และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงความจำระยะสั้น กับความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์เคมี ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ประชากรที่ศึกษา คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์คณิต ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนจำนวน 400 คน ซึ่งเลือกมาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดช่วงความจำระยะสั้น ของ พาสคัล-ลีโอน และเบอร์ทิส และแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์เคมี ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง มีค่าความเที่ยง .86 และ .84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 5 มีช่วงความจำระยะสั้นโดยเฉลี่ยเท่ากับ 5.62 หน่วย จาก 7 หน่วย และมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์เคมีโดยเฉลี่ยร้อยละ 26.05 ช่วงความจำระยะสั้นมีความสัมพันธ์กับความสามารถ ในการแก้ปัญหาโจทย์เคมีในทิศทางบวก โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .31 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01
Other Abstract: To study short-term memory and ability in solving chemistry problems and the relationships between short-term memory and ability in solving chemistry problems of the upper secondary school students. The populations were science-mathematics program students in the upper secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, educational region five. The sample was consisted of 400 students recruited by two stage stratified randomly samplng. The research instruments were the short-term memory test constructed by Pascual-Leone and Burtis and the ability in solving chemistry problems test constructed by the researcher. The reliability of the instruments were .86 and .84 respectively. The collected data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient. The findings were as follows: 1)The average score of short-term memory was 5.62 chunk from 7 chunk and the average score of ability in solving chemistry problems was 26.05 percent 2)There was a positive correlation between short-term memory and ability in solving chemistry problems. The correlation coefficient was .31 which was found to be significant at the 0.01 level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การศึกษาวิทยาศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7801
ISBN: 9746375814
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pulsiri_So_front.pdf946.6 kBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_ch1.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_ch2.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_ch3.pdf960.83 kBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_ch4.pdf771.78 kBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_ch5.pdf943.6 kBAdobe PDFView/Open
Pulsiri_So_back.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.