Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนำพล อินสิน-
dc.contributor.authorชารฎา สมคิด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-02T09:42:13Z-
dc.date.available2022-03-02T09:42:13Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78140-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractพัฒนาวัสดุดูดซับซิลิกาที่มีรูพรุนขนาดกลางชนิดใหม่เพื่อใช้ในการดูดซับสารตะกั่วโดยการเจือซีลีเนียมลงในซิลิกาที่มีรูพรุนขนาดกลางชนิด SBA-15 (Se-doped SBA-15) โดยทำการสังเคราะห์วัสดุดูดซับออกเป็น 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 ใช้ผงซีลีเนียมเป็นสารตั้งโดยปรับเปลี่ยนอัตราส่วนของซิลิกาต่อซีลีเนียมโดยน้ำหนักเท่ากับ 1:0.1, 1:0.2 และ 1:0.3 และวิธีที่ 2 ใช้โซเดียมซีลีไนท์เป็นสารตั้งต้น โดยมีอัตราส่วนซิลิกาต่อซีลีเนียมโดยน้ำหนักเท่ากับ 1:0.3 และตกผลึก 7 วัน จากนั้นทำการตกผลึกที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสภายในภาชนะทนความดันสูง ทำการพิสูจน์ทราบเอกลักษณ์ของวัสดุดูดซับด้วยเทคนิค XRD, FESEM, SEM/EDS, TEM, XRF, FTIR และ Surface area analyzer สำหรับการศึกษาการดูดซับสารตะกั่วด้วย Se-doped SBA-15 จะใช้วิธี AAS ในการตรวจวัดปริมาณสารตะกั่ว จากนั้นทำการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทดลอง ดังนี้ ความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายตะกั่ว pH เริ่มต้นของสารละลายตะกั่ว และเวลาที่ใช้ในการกวนเพื่อดูดซับสารตะกั่ว พบว่าสภาวะในการดูดซับสารตะกั่วที่ pH 5 และใช้เวลาในการดูดซับทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ได้ประสิทธิภาพในการดูดซับสูงสุดเท่ากับ 24.40 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.description.abstractalternativeIn this study, new mesoporous silica adsorbent materials for lead adsorption were prepared by doping selenium into SBA-15 (Se-doped SBA-15). The synthesis methods were divided into two routes: For the first one, selenium powder was used as a reactant, and the weight ratios of silica to selenium were varied as 1:0.1, 1:0.2 and 1:0.3. In the second route, sodium selenite was used as a reactant with weight ratio of Si:Se = 1:0.3 with 7 days of crystallization. Then, the products were synthesized by hydrothermal method at 100 °C. XRD, FESEM, SEM/EDS, TEM, XRF, FTIR and Surface Area Analyzer techniques were used to characterize the prepared products. To study on the adsorption of lead by Se-doped SBA-15, AAS was used to quantify lead concentration. Furthermore, the effects of initial concentration of lead, pH and shaking time for lead adsorption were investigated. The results indicated that the adsorption was the experiment with two hours shaking time at pH 5, resulting in the highest percent removal of 24.40.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตะกั่ว -- การดูดซึมและการดูดซับen_US
dc.subjectซิลิกาen_US
dc.subjectซีลีเนียมen_US
dc.subjectLead -- Absorption and adsorptionen_US
dc.subjectSilicaen_US
dc.subjectSeleniumen_US
dc.titleการดูดซับสารตะกั่วในน้ำด้วยซิลิกาที่มีรูพรุนขนาดกลางที่เจือด้วยซีลีเนียมen_US
dc.title.alternativeAdsorption of Lead in Water by Selenium-doped Mesoporous Silicaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNumpon.I@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charada_So_Se_2558.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.