Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78221
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรินทร ชวศิริ | - |
dc.contributor.author | สกลรัชต์ สาโรชสุนทรกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-14T04:27:25Z | - |
dc.date.available | 2022-03-14T04:27:25Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78221 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 | en_US |
dc.description.abstract | ได้ศึกษาปฏิกิริยาโบรมิเนชันของแอลเคนที่เร่งปฏิกิริยาด้วย bis(picolinato) oxovanadium(IV) และ tert-butyl hydroperoxide (TBHP) ภายใต้ภาวะที่ไม่รุนแรง ได้ศึกษาปัจจัยสี่ข้อสำหรับภาวะที่เหมาะสมต่อการส่งผลต่อการเกิดแอลคิลโบรไมด์ ได้แก่ ชนิดโบรมิเนทิงเอเจนต์ ปริมาณโบรมิเนทิงเอเจนต์ ชนิดตัวทำละลายและปริมาณตัวออกซิไดซ์ ภาวะที่เหมาะสมที่สุดคือ ใช้ cyclododecane 1 mmol เป็นสารตั้งต้นตัวอย่าง, เฮกซะโบรโมแอซีโทน (HBA) 1 mmol เป็นโบรมิเนทิงเอเจนต์, TBHP 10 mmol ใน acetonitrile เป็นเวลา 6 ชั่วโมง พบว่าค่าครึ่งชีวิตของการเกิดแอลคิลโบรไมด์เท่ากับ 34.2 นาที ได้เลือกแอลเคนหลายชนิด ได้แก่ adamantane, ethylbenzene, dodecane, acetophenone, 2,4-dimethylpentane และ isooctane มาศึกษารายละเอียดของปฏิกิริยานี้ พบว่า พันธะ 3° C-H ถูกกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาได้ดีกว่า 2° C-H และ 1° C-H ตามลำดับ การศึกษาการเลือกจำเพาะทางเคมีบ่งบอกว่า แอลคิลโบรไมด์เกิดผ่านสารตัวกลางที่เกิดจากแอลเคน ไม่ใช่จากการเปลี่ยนรูปของแอลกอฮอล์ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The bromination of alkanes catalyzed by bis(picolinato) oxovanadium(IV) and tert-butyl hydroperoxide (TBHP) under mild conditions was investigated. Four factors were examined for optimum conditions including type of brominating agents, amount of brominating agent, type of solvents and amount of TBHP. The best condition was found to be 1 mmol of cyclododecane as a model substrate, 1 mmol of hexabromoacetone (HBA) as a brominating agent, 10 mmol of TBHP in acetonitrile for 6 hour. The half-life for alkyl bromide production was 34.2 minutes. Various alkanes including adamantane, ethyl benzene, dodecane, acetophenone, 2,4-dimethylpentane and isooctane were selected to investigate more insight for this reaction and found that 3° C-H bond was prevailed to be more active in bromination than 2° C-H and 1° C-H bonds, respectively. Chemoselectivity study clearly indicated that alkyl bromide was produced from the intermediate generated from alkane, not from the conversion of alcohol. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โบรมิเนชัน | en_US |
dc.subject | แอลเคน | en_US |
dc.subject | Bromination | en_US |
dc.subject | Alkanes | en_US |
dc.title | โบรมิเนชันของแอลเคนที่เร่งปฏิกิริยาด้วย bis (picolinato)oxovanadium(IV) | en_US |
dc.title.alternative | Bromination of alkanes catalyzed by bis(picolinato)oxovanadium(IV) | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sakonrat Sa_Se_2559.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.