Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมราวรรณ อินทศิริ-
dc.contributor.authorธนาภร มีทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-14T08:33:20Z-
dc.date.available2022-03-14T08:33:20Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78232-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดูดซับแฟตตี้แอลกอฮอล์อีทอกซีเลตบนเมโซพอรัสซิลิกา วัสดุถูกเตรียมโดยใช้เททระเอทอกซี่ไซเลน (TEOS) เป็นสารตั้งต้น และเซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (CTAB) เป็น สารต้นแบบ จากนั้นจึงนำซิลิกาที่สังเคราะห์ได้ไปเผาที่อุณหภูมิสูง เพื่อกำจัดสารอินทรีย์ทั้งหมดออกจากซิลิกา นอกจากนี้ สมบัติทางกายภาพของซิลิกาถูกแสดงลักษณะเฉพาะด้วยเทคนิค FTIR, XRD และการดูดซับไนโตรเจน ผลการทดลองที่ได้ยืนยันถึงความเป็นเมโซพอรัสซิลิกาที่มีโครงสร้างเป็นผลึก และมีพื้นที่ผิวสูง สำหรับการตรวจสอบ สมบัติในการดูดซับสารลดแรงตึงผิวของเมโซพอรัสซิลิกาใช้วิธีการแบบแบทช์ในการทดลองเรื่องการดูดซับ โดยมี หลากหลายปัจจัยที่ทำการศึกษา ได้แก่ เวลา ปริมาณซิลิกา และความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายสารลดแรงตึงผิว ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพในการดูดซับที่ดีที่สุดสามารถได้มาภายในเวลา 15 นาที มีไอโซเทิร์มการดูดซับ เป็นไปตามแบบจำลองของแลงเมียร์ ค่าความสามารถสูงสุดของซิลิกาในการดูดซับคือ 588.24 mg/g และค่าคงที่ สมดุลการดูดซับคือ 7.33 × 10⁻² L/mg งานวิจัยนี้บ่งบอกถึงการประยุกต์ที่ดีของเมโซพอรัสซิลิกำกับการดูดซับสาร ลดแรงตึงผิวชนิดไม่มีประจุen_US
dc.description.abstractalternativeThis project aims at studying the adsorption of fatty alcohol ethoxylates onto mesoporous silica. The material was prepared using tetraethoxysilane (TEOS) as a precursor and cetyltrimethyl ammonium bromide (CTAB) as a template. The as-synthesized silica was then calcined at high temperature to remove all of the organic matters in silica. Further, their physical properties were characterized by FTIR, XRD and N2 sorption analysis. The results confirmed the mesoporosity of silica with crystalline structure and high surface area. The surfactant adsorption properties of the mesoporous silica were investigated using batch method by optimizing several parameters such as time, amount of silica and initial concentration of surfactant solution. The results showed that the optimal adsorption efficiency was reached completely within 15 minutes. The Langmuir model was found to be the best fit for the adsorption isotherm. The maximum adsorption capacity of silica was 588.24 mg/g and the adsorption equilibrium constant was 7.33 × 10⁻² L/mg. This research suggests a promising application of mesoporous silica in nonionic surfactant sorption.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารลดแรงตึงผิว -- การดูดซึมและการดูดซับen_US
dc.subjectSurface active agents -- Absorption and adsorptionen_US
dc.titleการดูดซับสารลดแรงตึงผิวด้วยเมโซพอรัสซิลิกาen_US
dc.title.alternativeAdsorption of Surfactant by Mesoporous Silicaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanaporn Me_Se_2559.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.