Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78248
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุวัฒน์ ผดุงรส-
dc.contributor.authorโชติกา แก้วโชติรุ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-15T03:26:16Z-
dc.date.available2022-03-15T03:26:16Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78248-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractปฏิกิริยาไกลโคซิลเลชัน เป็นปฏิกิริยาที่ใช้ในการสังเคราะห์พอลิเมอร์ชีวภาพ ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ที่ นักวิจัยให้ความสนใจศึกษาและพัฒนาเป็นอย่างมาก โดยปฏิกิริยาไกลโคซิลเลชันเป็นการทำปฏิกิริยากัน ระหว่างไกลโคซิลดอร์เนอร์ (glycosyl donor) ซึ่งทำหน้าที่เป็นอิเล็กโตรไฟล์และไกลโคซิลแอคเซปเตอร์ (glycosyl acceptor) ซึ่งทำหน้าที่เป็นนิวคลิโอไฟล์ ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยสนใจศึกษาและพัฒนาการสังเคราะห์ มอนอเมอร์ชนิดไกลโคซิลไดไทโอคาร์บาเมต (glycosyl dithiocarbamate; glycosyl DTC) เพื่อที่จะนำไปใช้ เป็นไกลโคซิลดอร์เนอร์ มีงานวิจัยที่รายงานการสังเคราะห์ไกลโคซิลไดไทโอคาร์บาเมต จากสารตั้งต้นผ่าน ปฏิกิริยาเคมีที่แตกต่างกันแต่ก็ยังมีประสิทธิภาพไม่เป็นที่น่าพอใจ โดยเฉพาะในขั้นการแทนที่ของหมู่ไดไทโอ คาร์บาเมต ในการทดลองนี้ผู้วิจัยได้ทำการสังเคราะห์ 2-O-benzoyl-3,5-di-O-benzyl-D-xylofuranosyl 1- diethyldithiocarbamate จากสารตั้งต้นราคาถูกชนิด D-xylose ได้สำเร็จ ผ่านปฏิกิริยาเคมีทั้งสิ้น 6 ขั้นตอน โดยปฏิกิริยาที่สำคัญคือการแทนที่ของเกลือไดไทโอคาร์บาเมตบนสารขั้นกลางแลคทอล (lactol) โดย ใช้ 2-chloro-1,3-dimethylimidazolinium chloride (DMC) เป็นสารกำจัดน้ำ (dehydrating agent) ซึ่ง ผู้วิจัยคาดหวังว่า glycosyl DTC ที่ผู้วิจัยสังเคราะห์ได้นั้นจะสามารถนำไปใช้เป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยาไกลโคซิลเลชันเพื่อสังเคราะห์พอลิเมอร์ชีวภาพได้en_US
dc.description.abstractalternativeGlycosylation is an important reaction in biodegradable polymers synthesis which attracts attention from several research groups. Biodegradable polymers synthesis is based on a reaction between glycosyl donor (electrophile) and glycosyl acceptor (nucleophile) and a newly generated bond is called glycosidic linkage. Our research group has been interested in the synthetic development of glycosyl dithiocarbamate (glycosyl DTC) as a versatile glycosyl donor for chemical glycosylation. There were numerous reports on the synthesis of glycosyl DTC using different precursors and synthetic routes but there is still room for improvement, especially the installation of dithiocarbamate group step. In this study, the synthesis of 2-O-benzoyl-3,5-di-O-benzyl-D-xylofuranosyl 1-diethyldithiocarbamate from Dxylose precursor was reported. The chemical transformations were carried out in 6 steps with overall moderate yield. The key step was installation of dithiocarbamate group on lactol intermediate by dehydrative substitution. The dehydrating agent used in this reaction was 2- chloro-1,3-dimethylimidazolinium chloride (DMC). Finally, the obtained glycosyl DTC will be used as glycosyl donor for synthesis of biodegradable polymer in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไกลโคไซเลชันen_US
dc.subjectโพลิเมอร์ชีวภาพen_US
dc.subjectGlycosylationen_US
dc.subjectBiopolymersen_US
dc.titleการสังเคราะห์ไกลโคซิลไดไทโอคาร์บาเมตเพื่อเป็นมอนอเมอร์ของปฏิกิริยาไกลโคซิลเลชันen_US
dc.title.alternativeSynthesis of glycosyl dithiocarbamates as monomers for glycosylationen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chotika Ka_SE_2560.pdf7.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.