Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราวุฒิ ตั้งพสุธาดล-
dc.contributor.authorนฤมล ตันติปริญญากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-16T01:51:37Z-
dc.date.available2022-03-16T01:51:37Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78272-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractไคโตซาน เป็นโมเลกุลทางชีวภาพขนาดใหญ่ที่พบได้ปริมาณมากบนโลก และถูกนำไปใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากคุณสมบัติที่ไม่เป็นพิษ มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ และสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ แต่ ฟิล์มจากไคโตซานจะมีความเปราะมาก วิธีหนึ่งในการเพิ่มความทนแรงดึงของฟิล์มไคโตซาน คือการใช้วัสดุ เสริมแรง งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลของการใช้ผงที่ถูกขูดออกจากการปั่นเส้นใยด้วยไฟฟ้า ในการเสริมแรงฟิล์ม จากไคโตซาน โดยเริ่มจากสังเคราะห์ PLA-diCOOH ซึ่งเป็นพอลิแล็กติกแอซิดน้ำหนักโมเลกุลต่ำที่ปลายทั้งสองข้างของสายพอลิเมอร์เป็นหมู่คาร์บอกซิลิกและนามาผสมกับพอลิแล็กติกแอซิดทางการค้าในอัตราส่วน 30:70 โดยน้ำหนักต่อด้วยการนำพอลิเมอร์ผสมที่ได้ไปขึ้นรูปเป็นแผ่นเส้นใยแบบไม่ถักทอด้วยการปั่นเส้นใย ด้วยไฟฟ้าสถิต หลังจากทำการขูดออกมาจะได้ออกมาเป็นผง เพื่อนำไปใช้เป็นวัสดุเสริมแรงฟิล์มไคโตซาน นำเส้นใยอิเล็กโทรสปันที่ถูกขูดออกมาไปเติมลงในสารละลายไคโตซาน เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาคู่ควบระหว่าง หมู่คาร์บอกซิลิกของพอลิแล็กติกแอซิดไดคาร์บอกซิลิก และหมู่อะมิโนของไคโตซาน โดยการใช้ 1-เอทิล-3-(3-ไดเมทิลอะมิโนโพรพิล) คาร์โบไดอิไมด์ (EDC) และ เอ็น-ไฮดรอกซีซักซินิไมด์ (NHS) ซึ่ง สามารถยืนยันการเกิดพันธะเอไมด์ใหม่นี้โดยใช้เทคนิคอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี ส่วนลักษณะของฟิล์มและ ความแข็งแรงจากการใช้วัสดุเสริมแรงจะถูกวัดโดยใช้กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดและการทดสอบแรงดึง ตามลำดับ จากผลของการทดสอบความทนแรงดึง พบว่าความทนแรงดึงของฟิล์มคอมโพสิตของไคโตซานที่ ประกอบไปด้วย PLA/PLA-diCOOH และ EDC/NHS มีค่าเท่ากับ 530.5 ±11.8 MPa ซึ่งมีค่าต่ำกว่าฟิล์ม จากไคโตซานปกติ (651.4 ± 21.8 MPa) แต่มากกว่าฟิล์มของไคโตซานที่ผสมกับ PLA/PLA-diCOOH โดย ไม่ได้เติมสารคู่ควบ (524.9 ± 38.3 MPa)en_US
dc.description.abstractalternativeChitosan is an abundant natural biological macromolecule in the world that has been widely used due to its nontoxicity, biocompatibility, and biodegradability. However, films from chitosan have high fragility. One method to improve its tensile strength is to reinforcing materials. In this study, the effect of scraped powder from electrospinning on chitosan film reinforcement was studied. First, PLA- diCOOH which is a low molecular weight PLA ( poly( lactic acid) ) having carboxylic groups on both polymer chain ends was synthesized. Then PLA- diCOOH was blended with commercial PLA in the ratio of 30: 70 by weight. The blend was subsequently fabricated into non- woven fiber mats by using electrospinning technique. After being scraped off the mats, PLA/ PLA- diCOOH powder was obtained and used as a filler to reinforce the chitosan film. The scraped electrospun fiber was added into chitosan solution. Coupling between the carboxylic groups of PLA- diCOOH and the amino groups of chitosan was achieved by using 1-ethyl-3-(3-dimethylaminopropyl) carbodiimide (EDC) and N- hydroxysuccinimide (NHS). The newly formed amide linkages were confirmed by FTIR spectroscopy. The film appearance and reinforcing strength was determined by scanning electron microscopy and tensile testing, respectively. Tensile testing showed that tensile strength of the resulting composite film of chitosan with PLA/ PLA- diCOOH and EDC/ NHS was 530. 5 ± 11. 8 MPa, which was lower than that of the neat chitosan film (651.4 ± 21.8 MPa) but higher than that of the mixed chitosan film of added with PLA/PLAdiCOOH powder without the coupling agents (524.9 ± 38.3 MPa).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไคโตแซนen_US
dc.subjectChitosanen_US
dc.titleฟิล์มคอมโพสิตของไคโตซานและพอลิแล็กติกแอซิดที่ถูกดัดแปรen_US
dc.title.alternativeComposite films of chitosan and modified-PLAen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naruemol Ta_SE_2560.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.