Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฟื่องฟ้า อุ่นอบ-
dc.contributor.authorนัจนันท์ จงสมชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-03-16T02:51:15Z-
dc.date.available2022-03-16T02:51:15Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78277-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractพัฒนาวิธีการใหม่ในการตรวจวัดเชิงสีเพื่อตรวจวัดแคดเมียม(II) ไอออนโดยใช้ไฮดรอกซีแอพาไทต์ดัด แปรด้วยไดไทโซนเป็นอุปกรณ์รับรู้ของแข็ง ทำการสังเคราะห์ไฮดรอกซีแอพาไทต์และพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วย เทคนิค FT-IR และ XRD จากนั้นทำการดัดแปรด้วยไดไทโซน โดยการเปลี่ยนแปลงสีของไดไทโซน-ไฮดรอกซีแอ พาไทต์เกิดจากการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างแคดเมียม(II) ไอออนกับไดไทโซนโดยเมื่อความเข้มข้นของ แคดเมียม(II) ไอออนเพิ่มขึ้น สีของไฮดรอกซีแอพาไทต์เปลี่ยนจากสีเหลืองอ่อนไปเป็นสีส้มซึ่งสามารถสังเกตผล การทดลองได้ด้วยตาเปล่าและสามารถวัดค่าความเข้มของสีได้จากโปรแกรม Image J ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ การตรวจวัดของไฮดรอกซีแอพาไทต์ดัดแปร ได้แก่ ความเข้มข้นของไดไทโซน ระยะเวลาในการตรวจวัด ค่า พีเอชเริ่มต้นของสารละลายแคดเมียม(II) ไอออน และผลของไอออนโลหะที่อาจรบกวนการตรวจวัด พบว่า ความเข้มข้นของไดไทโซนที่เหมาะสมสำหรับการเตรียมวัสดุตรวจวัดคือ 0.18 มิลลิโมลาร์ สามารถตรวจวัดได้ดี ที่ค่าพีเอชเริ่มต้นของสารละลายแคดเมียม(II) ไอออนเท่ากับ 7 โดยใช้ระยะเวลาในการตรวจวัด 5 นาที จากผล การทดลองภายใต้สภาวะดังกล่าวทำให้ได้กราฟความเข้มข้นมาตรฐานของแคดเมียม(II) ไอออนที่มีความเป็น เส้นตรงอยู่ในช่วงความเข้มข้น 20 - 80 ppb โดยความเข้มข้นแคดเมียม(II) ไอออนที่ต่าที่สุดที่สามารถตรวจวัด และแปรผลการตรวจวัดได้ด้วยตาเปล่าเท่ากับ 20 ppben_US
dc.description.abstractalternativeA new colorimetric method for the detection of cadmium ion in aqueous solution was developed using hydroxyapatite (Ca₁₀(PO₄)₆(OH)₂) modified with dithizone as a solid sensor. Hydroxyapatite was successfully prepared and characterized by FT-IR and XRD prior to the modification with dithizone. The color change of dithizone-hydroxyapatite was based on the complexation between cadmium ion and dithizone. The color of modified hydroxyapatite changed from pale yellow to orange, with increasing concentration of cadmium ion. The color was observed by naked eye and the color intensity was determined by Image J program. The effect of various parameters including dithizone concentration, detection time, initial pH of the cadmium solution and interfering metal ions were investigated. The suitable condition to prepare the materials was by using 0.18 mM dithizone solution. The suitable pH for detection was pH 7 and the detection time was 5 min. By using the proposed method, the linear range for cadmium ions detection was in the range of 20-80 ppb. The limit of detection was 20 ppb by naked eyes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแคดเมียมen_US
dc.subjectไฮดรอกซีอะพาไทต์en_US
dc.subjectการดูดซับen_US
dc.subjectHydroxyapatiteen_US
dc.titleไฮดรอกซีแอพาไทต์ดัดแปรเพื่อเป็นอุปกรณ์รับรู้เพื่อตรวจวัดแคดเมียม (II) ไอออนen_US
dc.title.alternativeModified hydroxyapatite as sensor for cadmium(II) ion detectionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorFuangfa.U@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natjanan Ch_SE_2560.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.