Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78334
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธราพงษ์ วิทิตศานต์ | - |
dc.contributor.author | รัชยล สรวรลภย์ | - |
dc.contributor.author | อัจฉรา สิงห์ขจัด | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-25T03:36:25Z | - |
dc.date.available | 2022-03-25T03:36:25Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78334 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการฟอกสีกลีเซอรีนสกปรกที่เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากการผลิตน้ำมันไบโอดีเซล ด้วยแอคทิเวเทตเคลย์ซึ่งผลิตจากแร่เบนโทไนต์ ในการวิจัยได้แบ่งการศึกษาทดลองออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาปริมาณแอคทิเวเทตเคลย์ที่ใช้ในการฟอกสี พบว่าปริมาณแอคทิเวเทตเคลย์ที่ใช้ในการฟอกสีได้อ่อนที่สุด คือ 110 กรัม ต่อ กลีเซอรีนสกปรก 50 กรัม ต่อ น้ำกลั่น 100 กรัม หรือคิดเป็นอัตราส่วน แอคทิเวเทตเคลย์:กลีเซอรีน:น้ำ 2.2 : 1 : 2 ตอนที่ 2 ศึกษาอุณหภูมิที่ใช้ในการฟอกสี พบว่า ที่อุณหูมิ 60 องศาเซลเซียสสามารถฟอกสีกลีเซอรีนสกปรก 50 กรัมที่ผสมน้ำ 100 กรัมได้สีอ่อนที่สุด ตอนที่ 3 ศึกษาเวลาที่ใช้ในการฟอก พบว่า เวลา 60 นาทีที่ใช้ในการฟอกสีเป็นเวลาที่ฟอกสีได้อ่อนที่สุด และตอนที่ 4 ศึกษาสภาวะกรด-ด่างในการฟอกสี พบว่า สภาวะกรดอ่อน pH 6 ฟอกสีได้อ่อนที่สุด จากนั้นจึงทำการฟอกสีกลีเซอรีนสกปรกด้วยแอคทิเวเทตเคลย์ในปริมาณ และสภาวะที่เหมาะสมดังกล่าว แล้วนำกลีเซอรีนที่ฟอกสีแล้วมาปรับสภาพให้เป็นกลาง แล้วกรองอีกครั้งก่อนนำไปต้มระเหยน้ำออก หลังจากนั้นนำกลีเซอรีนที่ระเหยน้ำออกแล้วเทียบสีด้วยกลีเซอรีนมาตรฐานที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรม | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research was aimed to study the performance of activated clay that used as an adsorbent for decolorization of waste glycerin, and to find the optimum condition for decolorization of waste glycerin by activated clay, which is natural and inexpensive adsorbent. Several parameters were investigated, i.e., ; amount of activated clay of 90, 100, 110, 120, 130, 140 and 150; activated clay ratio to oil to water of 2.2:1:2; temperature of 60, 80 and 100 ºC; time for decolorization of 1, 10, 20, 30, 40, 50 and 60 minutes; pH of 2, 4, 6, 7, 8, 10, 12. The optimum condition for decolorization of waste glycerin at amount of activated clay 110 gram, 60 ºC, 60 minute and pH 6 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การฟอกสี | en_US |
dc.subject | กลีเซอรีน | en_US |
dc.subject | Bleaching | en_US |
dc.subject | Glycerin | en_US |
dc.title | การฟอกสีกลีเซอรีนสกปรกด้วยแอคทิเวเทตเคลย์ | en_US |
dc.title.alternative | Decolorization of waste glycerine by using activated clay | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-CHEMENG-004 - Ratchayol Sorn.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.