Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรัญ หาญสืบสาย | - |
dc.contributor.author | นรินทร โรจนะหัสดิน | - |
dc.contributor.author | ธีร์จุฑา เพชรานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-22T02:17:04Z | - |
dc.date.available | 2022-04-22T02:17:04Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78446 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ทุกวันนี้เวลาผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ผู้บริโภคไม่เพียงแต่ให้ความสำคัญกับผลิตภัณฑ์ภายในเพียงอย่างเดียว ผู้บริโภคยังให้ความสำคัญกับบรรจุภัณฑ์ที่บรรจุผลิตภัณฑ์นั้นด้วย ผู้ผลิตจึงต้องใส่ใจกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า เพราะฉะนั้นนักออกแบบที่ดีจำเป็นจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญในการออกแบบซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่สำคัญต่างๆมากมายซึ่งหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญนั่นก็คือ สี เพราะสีเป็น องค์ประกอบหนึ่งที่สามารถสร้างความโดดเด่น สามารถดึงดูดผู้บริโภค รวมทั้งสร้างภาพลักษณ์ของสินค้าให้มีเอกลักษณ์เป็นที่น่าสนใจ ทางผู้จัดทำได้นำความคิดนี้มาพัฒนาและสร้างเป็นฐานข้อมูลความรู้สึกที่มีต่อสีของบรรจุภัณฑ์ เพื่อหวังว่าจะสามารถนำไปต่อยอดใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาบรรจุภัณฑ์อาหารโดยมีขอบเขตการศึกษาคือบรรจุภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพอย่างผลิตภัณฑ์ซีเรียล โดยผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้หลักการวิศวกรรมคันไซในการศึกษาหาความเชื่อมโยงระหว่างความรู้สึกของผู้บริโภคกับคุณลักษณะของบรรจุภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพอย่างผลิตภัณฑ์ซีเรียล เพื่อนำผลการศึกษาที่ได้มาพัฒนาแบบร่างบรรจุภัณฑ์ใหม่ที่สามารถสื่อถึงความรู้สึกที่สอดคล้องกับการรับรู้ของผู้บริโภคได้ การดำเนินการวิจัยได้ ประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงปริมาณในการวิเคราะห์ข้อมูลสำรวจที่ได้จากการประเมินผลด้วยแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วยคำคันไซที่ใช้แทนขอบเขตคำแสดงความรู้สึก และคุณลักษณะบรรจุภัณฑ์ ผลจากการวิเคราะห์จะอยู่ใน รูปแบบของแบบจำลองซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคำแสดงความรู้สึกกับสีของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งทำให้ทราบว่าสีแต่ละสีมีผลต่อความรู้สึกของผู้บริโภคอย่างไร ผลที่ได้จากการวิจัยคือ แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ช่วยให้นัก ออกแบบบรรจุภัณฑ์สามารถกำหนดคุณลักษณะและออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับการตระหนักรับรู้ของผู้บริโภคได้และจะนำไปสู่การพัฒนาบรรจุภัณฑ์อาหารให้ดึงดูดสายตาผู้บริโภค เป็นที่นิยมและมีมูลค่ามากยิ่งขึ้นได้ในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, when consumers choose to buy products, consumers not only focus on internal products they also pay more attention to the packaging that contains the product. To meet the needs of customers. Therefore, a good designer must consider the important elements in the design, which consists of many important elements, one of the most important elements is color, because the color can make a difference including creating a brand image that is unique and interesting. The researcher brought this idea to develop and created a database of feelings about the color of the package. In the hope that it can be further used in packaging design more efficiently in the future. In this research, the researcher has studied food packaging with the scope is Healthy food packaging like cereal products. The researchers applied the Kansei engineering principles to study the connection between consumer feelings and the characteristics of healthy food packaging. In order to use the results of the study to develop a new package draft that can convey feelings that correspond to consumer perceptions. The research has applied quantitative analysis to analyze the survey data from the evaluation by questionnaire. Which consists of the Kansai word used to represent the boundary of expressions and packaging features. The results of the analysis are in the form of models which show the relationship between the expression and the color of the package. Which shows how each color affects consumers feelings. Not only show the affect but the result of the research can be a guidelines of packaging design that allow package designers to specify packaging features and design that are consistent with consumer awareness and will lead to the development of food packaging that is appealing to consumers. Becoming more popular and valued in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | บรรจุภัณฑ์ -- การออกแบบ | en_US |
dc.subject | สีในการออกแบบ | en_US |
dc.subject | Containers -- Design | en_US |
dc.subject | Color in design | en_US |
dc.title | การสร้างแบบจำลองการออกแบบสีบรรจุภัณฑ์อาหารด้วยวิธีการทางวิศวกรรมคันไซ | en_US |
dc.title.alternative | Healthy Food Package Image Database System with a Cross-Cultural “Kansei” Search Function | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-IMAGE-013 - Teejutha Pecharanond.pdf | 3.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.