Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรณี คีรีทอง-
dc.contributor.authorอรณี คีรีทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-11T07:04:21Z-
dc.date.available2022-05-11T07:04:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78569-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของสารสกัดจากข้าวสีเพื่อเป็นส่วนผสมในเซรั่มบำรุงผิว พบว่าภาวะที่เหมาะสมในการสกัดเมล็ดข้าวไรซ์เบอร์รี่คือ รีฟลักซ์ด้วยเมทานอลนานสองชั่วโมง ได้ศึกษาตัวอย่างข้าวสีเพิ่มเติมทั้งหมดสิบห้าตัวอย่าง ได้แก่ เมล็ดข้าวไรซ์เบอร์รี่จากจังหวัดลพบุรี (WRM2L), เมล็ดข้าวไรซ์เบอร์รี่จากจังหวัดนครราชสีม (WRM2N), เมล็ดข้าวไรซ์เบอร์รี่จากจังหวัดเพชรบุรี (WRM2Ph), เมล็ดข้าวกล้องทับทิมชุมแพจากจังหวัดลพบุรี (WTM2L), เมล็ดข้าวกล้องทับทิมชุมแพจากจังหวัดเพชรบุรี (WTM2Ph), เมล็ดข้าวกล้อง กข43 จากจังหวัดลพบุรี (WOM2L), เมล็ดข้าวกล้องสังข์หยดจากจังหวัดลพบุรี (WSM2L), เมล็ดข้าวเหนียวลืมผัวจากจังหวัดลพบุรี (WBM2L), ข้าวไรซ์เบอร์รี่เมล็ดหักจากจังหวัด (BRM2L), ข้าวกล้องสังข์หยดเมล็ดหักจากจังหวัดลพบุรี (BSM2L), รำข้าวไรซ์เบอร์รี่ที่ไม่ระบุแหล่งที่มา (GRM2X), รำข้าวไรซ์เบอร์รี่จากจังหวัดพัทลุง (GRM2P), จมูกข้าวและรำข้าวสังข์หยดจากจังหวัดพัทลุง (GSM2P-1), รำข้าวสังข์หยดจากจังหวัดพัทลุง (GSM2P-2) และข้าวกล้องงอกผสมจมูกข้าวสังข์หยดจากจังหวัดพัทลุง (GOsM2P) ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH พบว่าสารสกัดข้าวสีหกชนิด ได้แก่ GRM2P, GRM2X, GSM2P-2, WBM2L, GO2M2P และ GSM2P-1 ให้ค่าร้อยละผลผลิตและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด เมื่อวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม เฟลโวนอยด์รวมและแอนโทไซยานินรวม พบว่า WBM2L ให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมและเฟลโวนอยด์รวมสูงสุด (683.6±29.8 mg gallic acid equivalent (GAE)/g extract และ 10,159±993.5 mg quercetin equivalent QE/g extract) ได้เลือกสารสกัดข้าวสี GRM2P เป็นส่วนผสมในเซรั่มบำรุงผิวหน้า และทดสอบสมบัติทางกายภาพของเซรั่มที่เตรียมได้ภายใต้ภาวะดังต่อไปนี้ ที่อุณหภูมิห้อง (28°C) เป็นเวลา 1 เดือน, ภายใต้ภาวะเร่งอุณหภูมิต่ำสลับอุณหภูมิสูงเป็นเวลา 7 วัน, ตากแดดเช้าเป็นเวลา 7 วัน และภายใต้แสงยูวี (254 nm) เป็นเวลา 30 นาทีพบว่าสีและลักษณะอื่น ๆ ของเซรั่มยังคงเหมือนเดิมen_US
dc.description.abstractalternativeThe utilization of color rice extracts as ingredient in nourishing serum has been investigated. Refluxing methanol for two hours was found to be appropriate conditions for riceberry rice extraction. Fifteen color rice samples including riceberry rice from Lop Buri (WRM2L), riceberry rice from Nakhon Ratchasima (WRM2N), riceberry rice from Phetchaburi (WRM2Ph) , tabtim chumphae rice from Lop Buri (WTM2L) , tabtim chumphae rice from Phetchaburi (WTM2Ph), RD43 brown rice from Lop Buri (WOM2L), sangyod rice from Lop Buri (WSM2L) , black sticky rice from Lop Buri (WBM2L) , riceberry broken rice from Lop Buri (BRM2L), sangyod broken rice from Lop Buri (BSM2L), riceberry rice bran (GRM2X), riceberry rice bran from Phatthalung (GRM2P) , sangyod rice germ and sangyod rice bran from Phatthalung (GSM2P-1) , sangyod rice bran from Phatthalung (GSM2P-2) and germinated brown rice and sangyod rice germ from Phatthalung (GOsM2P) were further examined. The antioxidant activity with DPPH of all samples was assayed. Based on the total yield and the highest antioxidant activity, six extracts namely GRM2P, GRM2X, GSM2P-2, WBM2L, GOsM2P and GSM2P-1 were obtained. Total phenolic, flavonoid and anthocyanin contents were carried out. WBM2L revealed the highest total phenolic and total flavonoid contents (683.6±29.8 mg gallic acid equivalent (GAE /g extract and 10,159.7± 993.5 mg quercetin equivalent QE) /g extract). GRM2P was finally selected to use as ingredient to apply in nourishing serum cosmetics. The finished serum was submitted to stability test under the following conditions: at room temperature (28˚C) for 1 month, accelerated stability test for 7 days, sun exposure for 7 days and under UV lamp (254 nm) for 30 min. The color and other appearance of the manipulated serum remained the same.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้าวen_US
dc.subjectสารสกัดจากพืชen_US
dc.subjectครีมถนอมผิวen_US
dc.subjectRiceen_US
dc.subjectPlant extractsen_US
dc.subjectBarrier creamsen_US
dc.titleการเตรียมเซรั่มบำรุงผิวหน้าที่มีสารสกัดจากข้าวสีen_US
dc.title.alternativePreparation of facial serum containing color rice extractsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-CHEM-048 - Oranee Keereethong.pdf24.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.