Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ พุ่มประดับ-
dc.contributor.authorเสริมสุข รอดรังนก-
dc.contributor.authorอินทนนท์ แสงศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-05-12T02:49:23Z-
dc.date.available2022-05-12T02:49:23Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78583-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractมลพิษทางอากาศเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในประเทศหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงประเทศไทยที่ต้องรับมือกับปัญหาฝุ่นละออง โดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็ก ขนาด 10 และ 2.5 ไมครอน ซึ่งก่อให้เกิดความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ปัญหาเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะขยายตัวและรุนแรงเพิ่มขึ้น ดังนั้นในงานวิจัยพัฒนาเครื่องฟอกอากาศ โดยใช้แผ่นกรองอากาศจากยางธรรมชาติเพื่อกำจัดฝุ่นละอองและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แผ่นกรองอากาศจากยางธรรมชาติร่วมกับซิลิกาดัดแปรพื้นผิวด้วยสารประกอบแอมีน เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวและประสิทธิภาพในการดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แผ่นกรองยางธรรมชาติที่ใช้ทดสอบในงานวิจัยมี 4 ชนิด ได้แก่ แผ่นกรองยางแบบไม่เจาะรู (ชนิด A) แผ่นกรองยางแบบเจาะรู (ชนิด B) แผ่นกรองยางผสมซิลิกาแบบเจาะรู (ชนิด C) และแผ่นกรองยางผสมซิลิกาดัดแปรแบบเจาะรู (ชนิด D) จากการทดลองพบว่าความสามารถในการดูดซับฝุ่น PM2.5 และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ คือ แผ่นกรองยางธรรมชาติชนิด D > C > B > A โดยมีค่าเปอร์เซ็นต์การลดลงของฝุ่นละออง PM2.5 ร้อยละ 61.02, 58.18, 52.38, 45.79 และค่าเปอร์เซ็นต์การลดลงของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 41.42, 37.93, 31.19, 26.67 ตามลำดับ หลังจากนำแผ่นกรองยางชนิด D ไปผ่านกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่ พบว่าแผ่นกรองยางมีรอบในการนำมากลับมาใช้ซ้ำได้สูงสุด 3 ครั้ง โดยมีความสามารถในการดูดซับฝุ่นละออง PM2.5 และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงร้อยละ 23.77 และ 27.75 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeAir pollution is one of the pressing problems in many countries including Thailand that must deal with the dust problems, especially small particles of 10 and 2.5 microns which cause the health hazard. These problems tend to expand and grow violent. Thus, this study aims to develop the air purifier using natural rubber filter to filter dust and adsorb carbon dioxide. The natural rubber filter with silica modified by amine is prepared to enhance the surface area and carbon dioxide adsorption capacity. There are 4 types of natural rubber filters used in this research such as unperforated rubber filter (A type), perforated rubber filter (B type), perforated rubber filter with unmodified silica (C type) and perforated rubber filter with modified silica (D type). From the experiment, the results show that the ability to adsorb PM2.5 dust and carbon dioxide arranges in descending order as follows: D > C > B > A with the PM2.5 reduction percentages of 61.02, 58.18, 52.38, 45.79 and the carbon dioxide reduction percentage of 41.42, 37.93, 31.19, 26.67, respectively. Finally, the D type-natural rubber filter is regenerated and it can be reused up to 3 cycles with the adsorption capacity of PM2.5 and carbon dioxide reduction by 23.77% and 27.75%, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเครื่องกรองอากาศen_US
dc.subjectฝุ่น -- การกำจัดen_US
dc.subjectAir filtersen_US
dc.subjectDust -- Removalen_US
dc.titleการพัฒนาอุปกรณ์เพื่อกำจัดฝุ่นละออง และมลพิษทางอากาศen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Air Purifier for Elimination of Dust and Air Pollutionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-CHEMENG-022 - Surmsuk Rod.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.