Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78705
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศารทูล สันติวาสะ-
dc.contributor.authorพลอยเพชร พูลจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-02T08:36:00Z-
dc.date.available2022-06-02T08:36:00Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78705-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 มีการจัดเก็บภาษีแยกตามประโยชน์การใช้งาน ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป็น 4 ประเภท ได้แก่ ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม ที่ดิน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัย ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นนอกจากเกษตรกรรมหรือที่ อยู่อาศัย เช่น พาณิชยกรรม และที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ทําประโยชน์ตามควรแก่สภาพ โดยที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมจะถูกจัดเก็บภาษีในอัตราที่ต่ําที่สุด และที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างรกร้างว่างเปล่า จะถูกจัดเก็บภาษีในอัตราที่สูงที่สุด ทําให้เจ้าของที่ดินบางส่วนเลี่ยงภาระภาษี โดย การทําการเกษตรเพื่อให้เสียภาษีน้อยลง ประกอบกับเงื่อนไขที่ไม่รัดกุมของการใช้สิทธิที่ดินเพื่อการเกษตร ทําให้ทุก คนสามารถใช้สิทธิที่ดินเพื่อการเกษตรและได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีได้และมีเจ้าของที่ดินจํานวนหนึ่ง หลีกเลี่ยง ภาษีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างโดยการทําเกษตรเทียม โดยอาศัยเงื่อนไขการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรของประเทศไทย ที่มี เงื่อนไขของการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่ไม่ซับซ้อน สามารถปฏิบัติได้ง่าย มีเพียงการกําหนดลักษณะของกิจกรรมที่ จะถือว่าเป็นกิจกรรมทางการเกษตร เช่น การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ และปริมาณการปลูกพืชหรือการเลี้ยงสัตว์ต่อ ขนาดที่ดิน ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ไม่เพียงพอที่จะพิสูจน์ได้ว่าการทําเกษตรดังกล่าวเป็นการทําเกษตรจริงๆหรือไม่ จากการศึกษากฎหมายของต่างประเทศ เช่น มลรัฐนิวส์เจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุ่น พบว่าประเทศเหล่านี้ล้วนมีข้อกําหนดที่เข้มงวดเพื่อพิสูจน์สถานะของที่ดินที่ขอใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อ การเกษตร สําหรับประเทศไทยควรมีข้อกําหนดเพิ่มเติมที่จะใช้ในการพิจารณาที่ดินเพื่อการเกษตร เพราะ เป็นการ รักษาผลประโยชน์ของประเทศ สร้างความเป็นธรรมในสังคม และลดความเหลื่อมล้ำในประเทศen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.171-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษีที่ดินen_US
dc.subjectการเลี่ยงภาษีen_US
dc.titleปัญหาการเลี่ยงภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยการทำเกษตรเทียมen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsantivasa@hotmail.com-
dc.subject.keywordการเลี่ยงภาษีen_US
dc.subject.keywordเกษตรเทียมen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.171-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380025834.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.