Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัชมัย ฤกษะสุต-
dc.contributor.authorสาธินี เลิศเมธากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-06T08:59:00Z-
dc.date.available2022-06-06T08:59:00Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78731-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564en_US
dc.description.abstractเอกัตศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการตรวจสอบและรับรองบัญชีของ ประเทศไทยในปัจจุบัน วิเคราะห์ปัญหาของการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีและปัญหา อื่นที่ส่งผลต่อความถูกต้องของจํานวนภาษีเงินได้นิติบุคคลก่อนการยื่นแบบแสดงรายการ และศึกษา แนวทางการตรวจสอบและรับรองบัญชีของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร (CPTA) เพื่อให้ทราบถึงแนวคิดที่สําคัญ และข้อดีของแนวทางดังกล่าว นําไปสู่การเสนอ แนวทางปรับปรุงการตรวจสอบและรับรองบัญชีของประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อากร จากการศึกษาพบว่า การตรวจสอบและรับรองบัญชีของประเทศไทยไม่สามารถรับรองความ ถูกต้องของจํานวนภาษีเงินได้ ทําให้ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของการเสียภาษีซ้ำโดย กรมสรรพากร มีสาเหตุมาจากการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในฐานะผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชีไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อรับรองความถูกต้องของจํานวนภาษีที่จะต้องชําระ ผู้ประกอบการ ขาดความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเสียภาษี และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษีอากรโดยเฉพาะ สําหรับการจัดเก็บภาษีเงินได้ของประเทศญี่ปุ่นมีการรับรองความถูกต้องของจํานวนภาษีเงิน ได้ที่จะต้องเสียตั้งแต่ก่อนการยื่นแบบแสดงรายการ โดยกําหนดให้มีวิชาชีพผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีภาษีอากร (CPTA) ทําหน้าที่ให้คําปรึกษาด้านภาษี คํานวณภาษีและจัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง กับการเสียภาษี หรือการคืนภาษี รวมถึงเป็นตัวแทนในการเสียภาษีและเข้าชี้แจงข้อเท็จจริงต่อ กรมสรรพากรกรณถีูกตรวจสอบ โดยปฏิบัติงานเป็นอิสระจากกรมสรรพากร ผู้เขียนจึงเสนอแนะว่าควรมีการปรับปรุงการตรวจสอบและรับรองบัญชีของประเทศไทยให้ เป็นการรับรองความถูกต้องของจํานวนภาษีเงินได้ที่จะต้องเสียตั้งแต่ก่อนการยื่นแบบแสดงรายการ ตามแนวทางของประเทศญี่ปุ่น จะทําให้การคํานวณภาษีของกิจการที่ผ่านการตรวจสอบและรับรอง บัญชีโดย CPTA นั้นถูกต้อง ครบถ้วน มากยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นการตรวจสอบในสาระสําคัญทางด้าน ภาษีอากรโดยเฉพาะ ส่งผลให้แบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีของกิจการนั้นถูกต้องและครบถ้วน ในสาระสําคัญตั้งแต่ตอนชําระภาษี ซึ่งจะให้ความเชื่อมั่นต่อกรมสรรพากรและช่วยลดขั้นตอนในการ ตรวจสอบซ้ำของกรมสรรพากรได้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2021.188-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบัญชีภาษีอากรen_US
dc.subjectผู้สอบบัญชีen_US
dc.titleแนวทางปรับปรุงการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ศึกษากรณี ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTashmai.R@chula.ac.th-
dc.subject.keywordการตรวจสอบบัญชีen_US
dc.subject.keywordการรับรองบัญชีภาษีอากรen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2021.188-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380038034.pdf10.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.