Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ปัญหา-
dc.contributor.advisorจิราพรรณ สุนทรโชติ-
dc.contributor.authorภาคย์ศิลป์ ปาคำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-23T01:40:25Z-
dc.date.available2022-06-23T01:40:25Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78916-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractหอยเชอรี Pomacea canaliculata ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานจากทวีปอเมริกาใต้ที่ถูกนำเข้ามาในประเทศไทยในปีพุทธศักราช 2525 และมีรายงานแพร่กระจายไปยังแหล่งน้ำจืดทั่วประเทศในปี พุทธศักราช 2538 ทำให้เกิดการระบาด ก่อผลกระทบต่อเกษตรกร ระบบนิเวศ และกระทบต่อการสูญพันธุ์ในพื้นที่ของหอยโข่งสกุล Pila โครงการวิจัยนี้ได้ทำการสำรวจศึกษาสถานภาพการรุกรานในอดีตและปัจจุบันของหอยเชอรีในประเทศไทย เพื่อออกแบบงานวิจัยในเรื่องการจัดการหอยเชอรี และการนำเข้าฟื้นฟูหอยโข่งไทยพันธุ์พื้นเมืองชนิด Pila virescens งานวิจัยเริ่มต้นจากการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานภาพการรุกราน การจัดการหอยเชอรีทั้งในและต่างประเทศ และข้อมูลหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองด้วยการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายงานการวิจัย บทความวิจัย ข้อมูลจากหน่วยงานราชการ คลิปวีดิทัศน์ และสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลและศึกษาในพื้นที่เบื้องต้นพบว่า ในปัจจุบันการระบาด และการก่อความเสียหายในพื้นที่เกษตรกรรมลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับการรายงานในอดีต โดยตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2558 ถึง 2563 ไม่พบการรายงานความเสียหายในพื้นที่เกษตรกรรม ในขณะที่หอยโข่ง Pila virescens พบได้ยากตามธรรมชาติ ปัจจุบันมีการจัดการหอยเชอรีแบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ การควบคุมทางกายภาพ การจัดการโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การควบคุมโดยชีววิธี การควบคุมโดยใช้สารเคมี และการนำมาบริโภค จึงทำให้เกิดเป็นแนวทางในออกแบบการจัดการหอยเชอรีก่อนการฟื้นฟูระบบนิเวศโดยใช้ความร่วมมือของเกษตรกรและชุมชนen_US
dc.description.abstractalternativeGolden Apple Snail Pomacea canaliculata (Lamarck, 1819) is an invasive species from South America, that was imported to Thailand in 1982, and reported to spread into freshwater habitatsin 1995 GAS has made impacts to farmers, freshwater ecosystem damages, and to native apple snail genus Pila. This research project was explored the past and current invasive status of GAS in Thailand in order to design an action research on the management of GAS and to design the restoration and reintroduction of a native apple snail Pila virescens. The project has been started with collecting the invasive status and GAS management data in Thailand and other countries, and native apple snail data by compiling relevant data from research reports, research articles, government data, video clips and expert consults. The results of preliminary information indicated that, in the present the GAS invasive status and damage in agricultural areas were greatly decreased compared to the past reports, and there is no report of damage in agricultural areas from 2015 to 2020, while the Pila virescens is quite rare and difficult to be explored in natural habitats. Currently, there are five types of GAS management: 1) Physical control, 2) Local wisdom protocols, 3) Biological control, 4) Chemical control, and 5) Local consumption. Therefore, it was a guideline for the GAS management design before setting up ecosystem restoration by the co-operations with farmers and communities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหอยเชอรี -- การเจริญเติบโต -- การควบคุมen_US
dc.subjectหอยโข่งen_US
dc.subjectFlorida applesnail -- Growth -- Regulationen_US
dc.subjectAmpullariidaeen_US
dc.titleการสำรวจศึกษาสถานภาพการรุกรานในปัจจุบันของหอยเชอรี Pomacea canaliculata (Lamarck, 1819) ในประเทศไทยและการออกแบบงานวิจัยในเรื่องการจัดการหอยเชอรี และการนำเข้าฟื้นฟูหอยโข่งพันธุ์พื้นเมืองชนิด Pila virescens (Deshayes, 1824)en_US
dc.title.alternativeAn inventory on the current invasive status of Golden Apple Snail (GAS) Pomacea canaliculata (Lamarck, 1819) in Thailand and a research design for GAS management and reintroduction of a native apple snail Pila virescens (Deshayes, 1824)en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-BIO-000 - Paksin Pakhum.pdf29.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.