Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78993
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรตรา เพียภูเขียว-
dc.contributor.advisorเอก แสงวิเชียร-
dc.contributor.authorรวีพัฒน์ จิวัฒนาสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-06-27T04:32:26Z-
dc.date.available2022-06-27T04:32:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78993-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractไลเคนเป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัยกันระหว่างรากับสาหร่าย สามารถ เป็นดัชนีวัดมลพิษทางอากาศบ่งบอกถึงความสมดุลของสภาพแวดล้อมในระบบนิเวศ ในงานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและความสัมพันธ์ทางวงศ์วานวิวัฒนาการของสาหร่าย ในไลเคน Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nylander) Hale ที่พบในประเทศไทยด้วยเทคนิคทาง อณูวิทยา โดยเก็บตัวอย่างไลเคนจาก 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลำพูน และนครราช สีมา จำนวน 20 ตัวอย่าง โดยศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายในตำแหน่งยีน rbcL และ 18S rDNA พบว่าสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอที่ตำแหน่งยีน rbcL ได้ 12 ตัวอย่าง เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับ ฐานข้อมูลใน GenBank แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายของสาหร่ายสีเขียวในไลเคน P. tinctorum โดยมี ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการใกล้เคียงกับสาหร่ายสีเขียว Trebouxia gelatinosa, Trebouxia anticipate, Trebouxia flava, Trebouxia corticola, Trebouxia sp. Kirika 9651 และ Trebouxia sp. Kirika 9721en_US
dc.description.abstractalternativeLichens are symbiotic associations of fungi and green algae or cyanobacteria. They play important ecological roles in the ecosystem and are widely used as environmental bioindicators. The aims of this research were to study the genetic diversity and to clarify phylogenetic relationship in lichen Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nylander) Hale. Twenty lichen samples were collected from various locations, Chiang Rai, Chiang Mai, Lumphun and Nakhon Ratchasima, Thailand. Genetic diversity of all collected samples were studies based on rbcL and 18S rDNA gene fragments. The results showed that 12 samples were successfully amplified. The phylogenetic analysis revealed that diversity of photobionts was high. The photobionts obtained from this study were high similarity to Trebouxia species, T. gelatinosa, T. anticipate, T. flava, T. corticola, T. sp. Kirika 9651 and T. sp. Kirika 9721.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไลเคนen_US
dc.subjectสาหร่ายen_US
dc.subjectความหลากหลายของพืชen_US
dc.subjectLichensen_US
dc.subjectAlgaeen_US
dc.subjectPlant diversityen_US
dc.titleความหลากหลายทางพันธุกรรมของสาหร่ายที่อยู่ในไลเคน (Parmotrema tinctorum (Despr. Ex Nylander) Haleen_US
dc.title.alternativeGenetic diversity of the photobionts in lichen Parmotrema tinctorum (Despr. ex Nylander) Haleen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-GENE-005 - Raveepat Jiwatanasuk.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.