Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79245
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกานต์ เสรีวัลย์สถิตย์-
dc.contributor.authorธนกฤต สุขนวกุล-
dc.contributor.authorนฤมล ปะวะขัง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-12T06:44:36Z-
dc.date.available2022-07-12T06:44:36Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79245-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพอลิเมอร์และสิ่งทอ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractคอร์เดียไรต์พรุนเป็นวัสดุเซรามิกที่ผ่านกระบวนการขึ้นรูปให้มีรูพรุนสูง โดยมีคอร์เดียไรต์เป็นตัวเนื้อของวัสดุ มีความทนไฟ สามารถใช้งานที่อุณหภูมิสูงได้ดี และมีความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างฉับพลัน งานวิจัยนี้ศึกษาการเตรียมคอร์เดียไรต์พรุนด้วยกระบวนการ Direct foaming โดยการนำสารก่อโฟมผสมเข้ากับน้ำสลิปโดยตรง แล้วอาศัยตัวเชื่อมประสานได้แก่ แมกนีเซียมออกซีซัลเฟตซีเมนต์ เพื่อให้ชิ้นงานแข็งตัวได้ที่อุณหภูมิห้อง เมื่อผ่านการเผาที่อุณหภูมิสูงแมกนีเซียมออกซีซัลเฟตซีเมนต์จะสลายตัวและทำปฏิกิริยากับอะลูมินาและซิลิกาในส่วนผสมเกิดเป็นเฟสคอร์เดียไรต์ ในการทดลองนี้ศึกษาผลของปริมาณ ร้อยละของแข็งของน้ำสลิปที่มีค่าเท่ากับ 66.67, 64.00, 61.54 และ 59.26 และมีการใส่และไม่ใส่สารก่อโฟม ต่อความหนาแน่นของชิ้นงานที่เตรียมได้ จากผลการทดลองพบว่าความหนาแน่นของชิ้นงานลดลงเมื่อเตรียมจากน้ำสลิปที่มีร้อยละปริมาณของแข็งลดลง ชิ้นงานที่เตรียมจากน้ำสลิปที่มีปริมาณของแข็งร้อยละ 64.00 มีความหนาแน่นที่ต่ำที่สุด และชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ์จึงได้นำร้อยละปริมาณของแข็งนี้ไปทำการทดลองต่อ โดยทำการปรับปริมาณอัตราส่วนสารก่อโฟมต่อน้ำเท่ากับ 1:450, 1:225, 1:150 และ 1:112.5 พบว่า ความหนาแน่นของชิ้นงานมีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากการใช้อัตราส่วนสารก่อโฟมต่อน้ำไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปริมาณฟองโฟมน้อยเกินไป จึงทำการปรับกระบวนการขึ้นรูปโดยใช้ร้อยละปริมาณของแข็งของน้ำสลิปเท่ากับ 67.91, 66.72, 65.57 และ 65.01 และใช้อัตราส่วนของสารก่อโฟมต่อน้ำคงที่เท่ากับ 1:20 ซึ่งพบว่าความหนาแน่นของชิ้นงานลดลงอย่างเห็นได้ชัด และได้ชิ้นงานที่มีลักษณะสมบูรณ์ที่มีความหนาแน่นต่ำที่สุดเท่ากับ 1.04 g/cm³ ซึ่งเตรียมจากน้ำสลิปที่มีปริมาณของแข็งร้อยละ 66.72en_US
dc.description.abstractalternativePorous cordierite is a high porosity ceramic material made with cordierite as the body. It can be used at high temperatures and has high thermal shock resistance. The purpose of this research was to study the direct foaming process for preparing porous cordierite ceramics by directly mixing a foaming agent with slip and using magnesium oxysulfate cement as a binder to allow a specimen to harden at room temperature. When fired at high temperatures, magnesium oxysulfate cement decomposed and reacted with alumina and silica in the mixture to form the cordierite phase. This work investigated the effect of solid loading percentage of slip with values of 66.67, 64.00, 61.54 and 59. 26 with and without the foaming agent on the density of the prepared specimens. It was found that the density of the specimen decreased when prepared from the slip with a decrease in the percentage of solid content. The specimens prepared with the solid content percentage of 64.00 had the lowest density and the specimens were in perfect shape. As a result, this percentage of solid content was then used for further experiment by varying the foam-to-water ratios of 1:450, 1:225, 1:150, and 1:112.5. It was found that the density of the specimen slightly changed. This could be due to improper use of the foaming agent-to-water ratio, resulting in insufficient foam. Therefore, the fabrication process was modified to use a percentage of solid content of slip equal to 67.91, 66.72, 65.57 and 65.01 and a constant foaming agent-to-water ratio of 1:20. This resulted in a significant decrease in the density of the specimen. The specimen with the lowest density of 1.04 g/cm³ was prepared from the slip with a solid content of 66.72 percent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัสดุเซรามิกen_US
dc.subjectคอร์เดียไรต์en_US
dc.subjectCeramic materialsen_US
dc.subjectCordieriteen_US
dc.titleการเตรียมเซรามิกคอร์เดียไรต์พรุนโดยใช้แมกนีเซียมออกซีซัลเฟตซีเมนต์เป็นตัวเชื่อมประสานen_US
dc.title.alternativePreparation of Porous Cordierite Ceramics Using Magnesium Oxysulfate Cement as a Binderen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MATSCI-006 - Thanakrit Suknavakun.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.