Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ-
dc.contributor.authorดวงฤทัย เด่นจารุกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-07-23T04:31:59Z-
dc.date.available2022-07-23T04:31:59Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/79708-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564-
dc.description.abstractความท้อแท้ในการทำงานเกิดจากการตอบสนองต่อความเครียดเป็นเวลานานโดยไม่สามารถจัดการได้ การวิจัยนี้ศึกษา 1) ระดับความท้อแท้ในการทำงานและปัจจัยเสี่ยงในโรงเรียน 2) พัฒนาโมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยเสี่ยง 3) จำแนกกลุ่มของครูโดยใช้การวิเคราะห์ต้นไม้เอสอีเอ็ม และ 4) พัฒนาข้อเสนอทางเลือกในการลดความท้อแท้ในการทำงาน  ตัวอย่าง  คือ   ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 720 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ และวิเคราะห์ด้วย Independent sample t-test one-way ANOVA โมเดลสมการโครงสร้าง และต้นไม้เอสอีเอ็ม (SEM tree) จำแนกกลุ่มครูตามความแปรปรวนและสัมประสิทธิ์อิทธิพลที่แตกต่างกัน พบว่า ครูมีความท้อแท้ในการทำงานในระดับปานกลาง (M =33.60, SD = 9.41) โดยมีปัจจัยที่ส่งผลต่อความท้อแท้ คือ อายุ รายได้ ประสบการณ์ทำงาน จำนวนงานนอกเหนืองานสอน และการทำงานฝ่ายงบประมาณและแผนงาน ซึ่งการรับรู้ความสามารถในตนเอง และการสนับสนุนจากโรงเรียน ส่งผลต่อความท้อแท้ในการทำงานของครู โดยมีความยึดมั่นผูกพันในการทำงาน   เป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (chi-square  (346, N = 720) = 1142.254, p < .001, CFI = .931, TLI = .919, RMSEA = 0.057 และ SRMR = 0.079) ส่วนกลยุทธ์การเผชิญปัญหาเป็นปัจจัยที่ไม่ส่งผลต่อความท้อแท้ในการทำงาน จากการวิเคราะห์ต้นไม้เอสอีเอ็มจำแนกครูเป็น 6 กลุ่มที่มีปัจจัยภูมิหลังต่างกัน พัฒนาทางเลือกในการลดความท้อแท้ในการทำงานไปยังครู ผู้บริหาร ผู้ออกนโยบายและสถานผลิตครู และประเมินความเหมาะสม พบว่า ข้อเสนอทางเลือกมีความความเป็นไปได้ระดับมาก และมีประโยชน์ในทางปฏิบัติระดับมากที่สุด -
dc.description.abstractalternativeTeachers affected by burnout from work-related stress would perform poorly. This research aimed to 1) investigate teachers’ work burnout and related risk factors, 2) develop a structural equation model (SEM) of teachers’ burnout, and 3) classify the teachers based on their risk factors. Data from 720 teachers are teach in schools under the Office of the Basic Education Commission were collected by online questionnaires, then analyzed by independent sample t-test, one-way ANOVA, SEM, and SEM tree. The results showed that about 40% of the teachers had moderate to high levels of work burnout when the overall mean burnout level was moderate (M = 33.60, SD = 9.41). In addition, their age, salary, work experience, and extra workload were the important risk factors for work burnout. The SEM results suggested that teachers’ self-efficacy and school support significantly affected work burnout, with work engagement acted as a partial mediator (chi-square  (346,  N = 720) = 1142.254, p < .001, CFI = .931, TLI = .919, RMSEA = 0.057, and SRMR = 0.079). The SEM tree analysis results classified the sample into 6 groups based on their background variables. Finally, developing alternatives to release teachers’ work burnout and evaluating the alternatives, it found that a high level of feasibility and practicality are the most level.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.878-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectครู -- ภาระงาน-
dc.subjectครู -- ความเครียดในการทำงาน-
dc.subjectTeachers -- Workload-
dc.subjectTeachers -- Job stress-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleข้อเสนอทางเลือกเพื่อลดภาวะความท้อแท้ในการทำงานของครูจากปัจจัยเสี่ยงในโรงเรียน : การวิเคราะห์ต้นไม้เอสอีเอ็ม-
dc.title.alternativeProposed alternatives to relieve teachers' work burnout from risk factors In schools: SEM tree analysis-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2021.878-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6380056427.pdf5.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.