Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศานิต ปิยพัฒนากร-
dc.contributor.advisorกรณ์รวี เอี่ยมสมบูรณ์-
dc.contributor.authorนันทนัช คันธารัตนกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-08-31T04:23:37Z-
dc.date.available2022-08-31T04:23:37Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80425-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractเต่ากระ (Eretmochelys imbricata) เป็นเต่าทะเลขนาดกลางที่มีแนวโน้มการลดลงของจำนวน อย่างต่อเนื่อง ด้วยผลกระทบทั้งทางตรงและอ้อมของกิจกรรมมนุษย์ ปัจจุบันเต่ากระถูกขึ้นบัญชีเป็นสัตว์ ทะเลที่เข้าขั้นวิกฤต การศึกษาและวิจัยเต่ากระเพื่อการอนุรักษ์เพิ่มมากขึ้น ทั้งในเรื่องระบบนิเวศ พฤติกรรม และ พันธุกรรม การศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นการสำรวจความหลากหลายทางพันธุกรรมของเต่ากระ บริเวณเกาะ ทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งอยู่ในอ่าวไทยฝั่งตะวันตก โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ในไมโทคอนเดรีย บริเวณคอนโทรลรีเจียน (control region) ซึ่งเป็นบริเวณที่พบอัตราการกลายพันธุ์มากที่สุด ตัวอย่างเลือด ของลูกเต่ากระอายุ 8, 9 และ 14 เดือน ถูกเก็บไว้บนกระดาษกรอง โดยเก็บตัวอย่างเลือดจากลูกเต่า 10 ตัว ในแต่ละช่วงอายุ สารพันธุกรรม (DNA) สกัดด้วยวิธีการสกัดโดยใช้เกลือ (salting out) ผลผลิตพีซีอาร์ ของคอนโทรลรีเจียนมีขนาด 808 คู่เบส ซึ่งใช้จากการเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์ของลูกเต่ากระทั้งหมด 15 ตัวอย่าง (5 ตัวอย่างต่อช่วงอายุ) ไม่พบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของลูกเต่ากระ ซึ่งอาจเป็นผลมา จากลูกเต่ากระในแต่ละช่วงอายุมาจากแม่เต่ากระตัวเดียวกัน หรือแม่เต่ากระที่มาวางไข่ที่เกาะทะลุส่วนใหญ่ มีพันธุกรรมของบรรพบุรุษทางแม่ตัวเดียวกัน หรืออาจเป็นเพราะเครื่องหมายพันธุกรรมที่ใช้ไม่มีความ แปรปรวนเพียงพอที่จะสำรวจความหลากหลายของเต่ากระบริเวณเกาะทะลุได้en_US
dc.description.abstractalternativeHawksbill sea turtle (Eretmochelys imbricata) is one of medium size sea turtles that the numbers are dramatically decreased via directly and indirect effected of human activities. At present, there are more concerned on the conservation of hawksbill sea turtle, large numbers of researches on ecosystem, behavior and genetic of the turtle were carried out. The objective of this study is to study on genetic diversity of hawksbill turtle at Talu island which located in Prachuab Khiri Khan province, using the partial of the nucleotide sequence of the control region in mitochondrial DNA, which is the highest mutation rate was reported. Blood of juvenile hawksbill sea turtles with 8, 9, and 14 month old in nursery hawkbill sea turtle at Talu island were collected (10 samples/age). DNA extraction was performed using salting out method. 808 bp PCR products of the control region were obtained. There was no genetic variation among 15 samples screened (5 samples/age). The result suggested that the juveniles could be from only one mother or the mothers that laid eggs at Talu island are sharing the same maternal lineage, or the genetic marker used in this study is not powerful enough to detect genetic variation of the turtles in this study.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเต่ากระ -- ไทย -- เกาะทะลุ (ประจวบคีรีขันธ์)en_US
dc.subjectEretmochelys imbricata -- Thailand -- Talu Island (Prachuap Khiri Khan)en_US
dc.titleความหลากหลายทางพันธุกรรมของเต่ากระ (Eretmochelys imbricata) บริเวณเกาะทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeGenetic variation of Hawkbill Sea Turtle (Eretmochelys imbricata) at Talu Island, Prachuap Khiri Khan Provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MARINE-011 - Nuntanut Kantaratanakul.pdf25.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.