Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80524
Title: | Films as French Soft Power: The Case of Thailand |
Other Titles: | ภาพยนตร์ในฐานะอำนาจละมุนของฝรั่งเศส : กรณีศึกษาประเทศไทย |
Authors: | Soisuda Niwon |
Advisors: | Bhawan Ruangsilp |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Subjects: | Soft power (Political science) Politics in motion pictures Motion pictures -- French ซอฟต์พาวเวอร์ (รัฐศาสตร์) การเมืองในภาพยนตร์ ภาพยนตร์ -- ฝรั่งเศส |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The film is not simply the most profitable cultural industry, but it is also considered the most powerful tool of “soft power. As “soft power,” film is used by the state to promote its culture, civilization, and positiveness of the country as well as forms the positive perception to the public. In the case of France, the Ministry of Europe and Foreign Affairs has appointed Alliance Francaise and French Institute as cultural representative to promote the French language, culture, and civilization to the public in oversea. As a result, people have a positive image of France and maintain a soild diplomatic relationship, as exemplified by the case of Thailand. This study aims to understand French foreign cultural policies towards Thailand and understand how films serve as an instrument of soft power of France in Thailand. It is questioned how does the French government promote French culture and cultural goods to create a positive perception of France in Thailand. The hypothesis is that The French government tries to create a positive perception of France in The eye of the Thai public by using films, both French and foreign. The study concludes that France exercises its soft power in Thailand through its foreign cultural policies according to which film is used as a tool to form a positive perception of France in the eye of the Thai public. France’s foreign cultural policies are conducted in Thailand through an agency under the Ministry of Europe and Foreign Affairs, in this case the Alliance Francaise. The Alliance Francaise of Bangkok organizes the cultural events such as film festivals, French language classes as well as arts and fashion exhibitions in order to introduce French culture as well as the Frenchness to the Thai public since 1912. Film is one of the tools of French soft power and employed by the Alliance Francaise to shape the ideas and perceptions of the Thai audience of France. The richness of genres and themes of the films selected by the AF to be screened in Thailand represents openness, multiculturalism, equality and democracy of France. |
Other Abstract: | ภาพยนตร์ไม่ได้เป็นเพียงอุตสาหกรรมวัฒนธรรมที่สร้างผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรมมากที่สุดเท่านั้น แต่ภาพยนตร์ยังถือเป็นอำนาจละมุนชนิดหนึ่งเนื่องจากรัฐใช้ภาพยนตร์เป็นตัวแทนในการเผยแพร่ วัฒนธรรม อารยธรรม และสิ่งที่ดีงามของประเทศ ตลอดจนสร้างการรับรู้เชิงบวกต่อสาธารณชน ประเทศฝรั่งเศสก็ได้ใช้อำนาจละมุนผ่านทางภาพยนตร์โดยกระทรวงการต่างประเทศและกิจการยุโรปได้แต่งตั้งสมาคมฝรั่งเศสและศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสให้เป็นตัวแทนทางวัฒนธรรมเพื่อเผยแพร่ภาษาฝรั่งเศส วัฒนธรรม และอารยธรรมของฝรั่งเศสสู่สาธารณะในต่างประเทศ ส่งผลให้ประชาชนมีภาพลักษณ์ที่ดีต่อฝรั่งเศสและรักษาความสัมพันธ์ทางการฑูตที่แน่นแฟ้น ดังตัวอย่างกรณีของประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจนโยบายวัฒนธรรมต่างประเทศของฝรั่งเศสที่มีต่อประเทศไทย และทำความเข้าใจว่าภาพยนตร์เป็นอำนาจละมุนของฝรั่งเศสในประเทศไทยได้อย่างไร โดยตั้งคำถามในการศึกษาว่ารัฐบาลฝรั่งเศสส่งเสริมวัฒนธรรมและสินค้าทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศสอย่างไรเพื่อสร้างการรับรู้เชิงบวกต่อฝรั่งเศสในประเทศไทย โดยมีสมุติฐานคือรัฐบาลฝรั่งเศสพยายามสร้างการรับรู้เชิงบวกต่อฝรั่งเศสในสายตาของคนไทยโดยใช้ภาพยนตร์ทั้งภาษาฝรั่งเศสและต่างประเทศ ผลการศึกษาสรุปว่าฝรั่งเศสใช้อำนาจละมุนผ่านนโยบายวัฒนธรรมต่างประเทศโดยใช้ภาพยนตร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างการรับรู้เชิงบวกต่อฝรั่งเศสในสายตาของคนไทย นโยบายวัฒนธรรมต่างประเทศของฝรั่งเศสดำเนินการในประเทศไทยผ่านหน่วยงานภายใต้กระทรวงยุโรปและการต่างประเทศ กล่าวคือ สมาคมฝรั่งเศสแห่งประเทศไทยที่เป็นตัวแทนจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม เช่น เทศกาลภาพยนตร์ ชั้นเรียนภาษาฝรั่งเศส ตลอดจน นิทรรศการศิลปะและแฟชั่นเพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมวัฒนธรรมฝรั่งเศสและความเป็นฝรั่งเศสให้กับประชาชนชาวไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2455 ภาพยนตร์เป็นหนึ่งในเครื่องมือในการใช้อำนาจละมุนของฝรั่งเศสผ่านทางสมาคมฝรั่งเศสในประเทศไทยเพื่อเพื่อกำหนดแนวความคิดและการรับรู้ของคนไทยที่มีต่างประเทศฝรั่งเศส และภาพยนตร์ส่วนใหญ่มีเนื้อหาส่งเสริม การเปิดกว้างยอมรับ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความเสมอภาค และประชาธิปไตยของฝรั่งเศส |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2020 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | European Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80524 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.204 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2020.204 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Gra_Soisuda_Ni_The_2020.pdf | 2.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.