Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชีวานันท์ เดชอุปการ ศิริสมบูรณ์-
dc.contributor.authorณัฐณิชา ตันติเจริญการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-10-04T07:01:39Z-
dc.date.available2022-10-04T07:01:39Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80559-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2563en_US
dc.description.abstractราและสารพิษจากราสามารถปนเปื้อนในผลผลิตทางการเกษตรตั้งแต่ในแปลงเพาะปลูกตลอดจน ขั้นตอนการเก็บรักษา ส่งผลให้คุณภาพของผลผลิตลดลง ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสุขภาพของ ผู้บริโภคเป็นอย่างมาก ปัจจุบันยีสต์ปฏิปักษ์เป็นหนึ่งในตัวควบคุมทางชีวภาพที่นิยมใช้ในการลดการปนเปื้อน ของราและสารพิษจากราในผลผลิตทางการเกษตร การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินความเป็นปฏิปักษ์ ของยีสต์ไอโซเลต Y08 และ Y20 ที่แยกได้จากเมล็ดกาแฟ และผลของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายที่ยีสต์ ผลิตขึ้นต่อการเจริญและการผลิตโอคราทอกซินเอของ Aspergillus carbonarius F3T1OR4B1 และ A. carbonarius TK4.2 ผลการทดลองพบว่า ยีสต์ทั้งสองไอโซเลตสามารถยับยั้งการเจริญของ A. carbonarius ทั้งสองสายพันธุ์ได้ โดยสามารถผลิตสารยับยั้งการเจริญเมื่อเลี้ยงร่วมกับรา และยีสต์ทั้งสองไอโซเลตสามารถ ผลิตสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญและการผลิตโอคราทอกซินเอของราได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (90-100 เปอร์เซ็นต์) โดยยีสต์ไอโซเลต Y20 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งการเจริญและลด การผลิตโอคราทอกซินเอของราได้ 96 และ 99 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ นอกจากนี้ สารประกอบอินทรีย์ระเหย ง่ายที่ยีสต์ผลิตส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาของเส้นใยรา และเมื่อวิเคราะห์ชนิดของ สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายที่ไอโซเลต Y20 ผลิตขึ้น พบเอทานอล, 1-บิวทานอล, 3-เมทิล-, อะซิเตท และ เอทิลอะซิเตท เป็นหลักen_US
dc.description.abstractalternativeFungi and their mycotoxins can be contaminated in agricultural products from field to storage leading to decrease the quality of products and resulting in economic loss and consumer health. At the present, antagonistic yeast is one of the biological control agents used to control fungi and their mycotoxins in agriculture products. The aims of this study were to evaluate of antagonistic activity of yeast isolate Y08 and Y20 isolated from coffee beans and to determine the effect of volatile organic compounds (VOCs) produced by yeast on growth and ochratoxin A (OTA) production of Aspergillus carbonarius F3T1OR4B1 and A. carbonarius TK4.2. The results showed that both yeast isolates were able to inhibit growth of both A. carbonarius strains by producing antifungal metabolites when co-cultured with each fungal strain. Moreover, both yeast isolates were able to produce VOCs that effectively inhibit the growth and OTA production of A. carbonarius (90-100 percent). The isolate Y20 showed the highest efficiency to inhibited fungal growth (96 percent) and OTA production (99 percent). In addition, the VOCs produced by yeast effected on morphological changes of A. carbonarius hyphae. Ethanol, 1- butanol, 3- methyl- , acetate and ethyl acetate were the main VOCs produced by yeast isolate Y20.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสารประกอบอินทรีย์ระเหยen_US
dc.subjectยีสต์en_US
dc.subjectVolatile organic compoundsen_US
dc.subjectYeasten_US
dc.titleผลของสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายของยีสต์ต่อ Aspergillus carbonarius ที่ผลิตโอคราทอกซินเอen_US
dc.title.alternativeEffect of yeast volatile organic compounds on ochratoxin Aproducing Aspergillus carbonariusen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-MICRO-009 - natnicha tan_2563.pdf37.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.