Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิดาพร ศิริถาพร-
dc.contributor.authorสิตา พลังวชิรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-11-08T08:12:35Z-
dc.date.available2022-11-08T08:12:35Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81285-
dc.descriptionเอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562en_US
dc.description.abstractการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในทางที่ไม่ถูกต้องเป็นสาเหตุหลักสาเหตุหนึ่งของการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกําไร หรือ Base Erosion and Profit Shifting – BEPS ที่องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organization for Economic Co – Operation and Development) ได้ให้ความสําคัญ โดยมีการประกาศแผนปฎิบัติการที่ 6 เรื่อง Preventing the Granting of TreatyBenefits in Inappropriate Circumstances อีกทั้งมีการกําหนดมาตรการขั้นต่ํา (Minimum Standard) ซึ่งแต่ละประเทศสมาชิกต้องทําการปฎิบัติตาม ได้แก่การบัญญัติเจตนารมณ์ (The Express Statement) ไว้ในคํานําแห่งอนุสัญญาภาษีซ้อน (Preamable) และให้ประเทศสมาชิกเลือก 1 ใน 3 มาตรการ ได้แก่ มาตรการที่ 1 การบัญญัติหลักการทดสอบวัตถุประสงค์สําคัญ (Principle Purposes Test – PPT Rule) และหลักการจํากัดสิทธิของบุคคลที่จะได้รับสิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อน (Limitations of Benefits –LOB Rule) ไม่ว่าจะเป็นฉบับย่อ (Simplied Version) หรือฉบับละเอียด (Detailed Version) หรือ มาตรการที่ 2 การบัญญัติเพียง PPT Rule หรือ มาตรการที่ 3 การบัญญัติ LOB Rule ฉบับละเอียดไว้เพียงอย่างเดียว โดยควบคู่กับกฎหมายภายในประเทศที่ใช้เพื่อป้องกันปัญหา Conduit Arrangement ทั้งนี้ OECD ได้มีแผนปฎิบัติการที่ 15 เรื่อง Multilateral Instrument โดยพัฒนาสนธิสัญญาพหุภาคี Multilateral Convention to Implement Tax Treaty Related Measures to Prevent BEPS – MLI เพื่อเป็นเครื่องมือให้ประเทศภาคีสามารถนํามาตรฐานขั้นต่ํามาปรับใช้กับอนุสัญญาภาษีซ้อนในประเทศตน นอกเหนือไปจากวิธีการเจรจาแบบทวิภาคี (Bilateral Negotiation) อีกด้วย จากการศึกษาพบว่าหากประเทศไทยจําเป็นต้องปฎิบัติตามมาตรฐานขั้นต่ํา ควรจะมีการพิจารณาผลกระทบในด้านต่างๆ จากการปรับใช้มาตรฐานขั้นต่ำ (Minimum Standard) รวมถึงผลกระทบจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีสนธิสัญญาพหุภาคี MLI โดยจําเป็นต้องศึกษาแนวคิด หลักการทางกฎหมาย แนวทางการใช้บังคับ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันการใช้ประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อนโดยมิชอบอันจะนําไปสู่ปัญหาการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกําไรen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.170-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาษีเงินได้ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอนุสัญญาภาษีซ้อนen_US
dc.titleการนำมาตรการป้องกันการกัดกร่อนฐานภาษีและการโยกย้ายกำไรโดยการป้องกันการใช้อนุสัญญาภาษีซ้อนในทางที่ไม่ถูกต้องตามแนวทางของ OECD มาใช้ในประเทศไทยen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subject.keywordการหลบหลีกภาษีen_US
dc.subject.keywordการกัดกร่อนฐานภาษีen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2019.170-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6086238034.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.