Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะบุตร บุญอร่ามเรือง-
dc.contributor.authorภัคจิรา ตั้งสุทธิมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-12-02T02:11:27Z-
dc.date.available2022-12-02T02:11:27Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81346-
dc.descriptionเอกัตศึกษา น.ม. (การเงิน/ภาษีอากร)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractกิจกรรมของชมรมตรวจสอบและป้องกันการทุจริตในธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างธนาคารพาณิชย์ ซึ่งทำให้มีประเด็นปัญหาว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นการปฏิบัติสอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562ที่กำหนดห้ามมิให้ผู้ใดเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลหากไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลเว้นแต่กฎหมายจะบัญญัติยกเว้นไว้ หรือไม่ การศึกษาพบว่า กิจกรรมการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตของชมรมตรวจสอบและ ป้องกันการทุจริตในภาคธุรกิจธนาคารพาณิชย์ของประเทศไทย ยังมีข้อจำกัด ทำได้เพียงกิจกรรมที่จำกัดเฉพาะเป็นฐานของธนาคารเองเท่านั้น ซึ่งจำเป็นต้องมีกฎหมายรองรับให้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สาธารณะได้มากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องและเป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จึงเสนอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายโดยยกระดับชมรมตรวจสอบและป้องกันการทุจริต ให้มีฐานะเป็นองค์กรที่มีอำนาจออกกฎหมายเพื่อให้มีผลใช้บังคับสอดคล้องกับการปฏิบัติงานภาคธุรกิจธนาคาร และเพื่อป้องกันผลกระทบเป็นวงกว้างต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศen_US
dc.description.abstractกิจกรรมของชมรมตรวจสอบและป้องกันการทุจริตในธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างธนาคารพาณิชย์ ซึ่งทำให้มีประเด็นปัญหาว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นการปฏิบัติสอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562ที่กำหนดห้ามมิให้ผู้ใดเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลหากไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลเว้นแต่กฎหมายจะบัญญัติยกเว้นไว้ หรือไม่ การศึกษาพบว่า กิจกรรมการตรวจสอบและป้องกันการทุจริตของชมรมตรวจสอบและ ป้องกันการทุจริตในภาคธุรกิจธนาคารพาณิชย์ของประเทศไทย ยังมีข้อจำกัด ทำได้เพียงกิจกรรมที่จำกัดเฉพาะเป็นฐานของธนาคารเองเท่านั้น ซึ่งจำเป็นต้องมีกฎหมายรองรับให้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สาธารณะได้มากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องและเป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จึงเสนอแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายโดยยกระดับชมรมตรวจสอบและป้องกันการทุจริต ให้มีฐานะเป็นองค์กรที่มีอำนาจออกกฎหมายเพื่อให้มีผลใช้บังคับสอดคล้องกับการปฏิบัติงานภาคธุรกิจธนาคาร และเพื่อป้องกันผลกระทบเป็นวงกว้างต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.168-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสิทธิส่วนบุคคลen_US
dc.subjectการป้องกันข้อมูล -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.titleข้อจำกัดการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อป้องกันการทุจริตในธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข่อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายการเงินและภาษีอากรen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subject.keywordข้อมูลส่วนบุคคลen_US
dc.subject.keywordธุรกิจธนาคารพาณิชย์en_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.168-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280067034.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.