Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81482
Title: | Assessment of greenhouse gases emissions from dairy cattle production in Thailand |
Other Titles: | การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตโคนมในประเทศไทย |
Authors: | Phoo Pwint Pwint Thu |
Advisors: | Suthirat Kittipongvises Nutthee Am-In |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Thailand’s agriculture sector plays a vital role in driving economic growth. Globally, livestock production is estimated to contribute about 18% of greenhouse gas (GHG) emissions. Despite its importance, there is a relative lack of research on GHGs assessment in the livestock sector in Thailand. The aim of this research was to estimate GHGs emissions from dairy cattle production in Saraburi and Ratchaburi provinces of Thailand. The 2019 Refinement to the 2006 IPCC guidelines for national greenhouse gas inventories was applied in this research. Twenty dairy farms (n=20) including both small farms (n=10) and medium farms (n=10) were selected as the case studies. The results revealed that total GHGs emissions from 20 farms were 138.83 kg carbon dioxide equivalent (kg CO2eq) from all activities. Methane (CH4) emissions from both enteric fermentation and manure management were accounted for 98%. Nitrous oxide (N2O) emissions from manure management (both direct and indirect) and from manure applied to soil were only 1%. Small size of farms emitted GHG in the range of 3.82 to16.01 kg CO2eq (0.19 – 3.20 kgCO2 eq/head of cattle of GHG emission intensity (ET). Whereas, medium farms contributed GHG range from 2.74 and 4.22 kg CO2eq (0.09-0.19 kgCO2 eq/head of cattle of ET) from all activities. Farms in Ratchaburi emitted the emission in the range of 3.25-16.01 kg CO2eq per cow but farms in Saraburi contributed to total GHGs emission in the range of 2.74 - 4.07 kg CO2eq. Besides, ET range in Ratchaburi was 0.15-3.20 kg CO2eq and ET range in Saraburi was 0.09-0.21 kg CO2eq. By considering emissions activities, CH4 emission from enteric fermentation is much higher than those from manure management. By considering waste management in a dairy farm, as the manure solid storage system emitted higher emissions than the liquid/slurry system, it is necessary for farm managers and related stakeholders to properly manage the herds and farms to lower methane emissions, especially from manure management practices (i.e., installation of anaerobic digestion, composting, and manure drying practices, etc.). Besides, it is necessary to consider other factors that reduce emissions such as improving feeding quality and keeping good animal husbandry practices. |
Other Abstract: | ภาคการเกษตรนับเป็นภาคส่วนที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตปศุสัตว์ระดับโลกมีค่าประมาณร้อยละ 18 เมื่อเทียบกับภาคส่วนอื่น ถึงแม้ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นข้อมูลที่สำคัญ หากแต่ยังขาดการวิจัยเกี่ยวกับการประเมินก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในภาค ปศุสัตว์ของประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตโคนมในจังหวัดสระบุรีและราชบุรี อาศัยการประเมินตามแนวทางและหลักการระดับสากลของ The 2019 Refinement to the 2006 IPCC Guidelines for national greenhouse gas inventories โดยคัดเลือกฟาร์มโคนมทั้งสิ้น 20 แห่ง (n=20) ประกอบด้วย ฟาร์มขนาดเล็ก (n=10) และฟาร์มขนาดกลาง (n=10) เป็นกรณีศึกษาของงานวิจัย ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมจากฟาร์มโคนม 20 แห่งมีค่าเท่ากับ 138.83 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (kgCO2eq) ทั้งนี้ การปล่อยก๊าซมีเทนทั้งจากกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง (Enteric Fermentation) และการจัดการมูลสัตว์พบในสัดส่วนร้อยละ 98 ในขณะที่ การปล่อยก๊าซไนตรัสอกไซด์ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการจัดการมูลสัตว์พบเพียงร้อยละ 1-2 นอกจากนี้ ฟาร์มโคนมกรณีศึกษาขนาดเล็กปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่ในช่วง 3.82 ถึง 16.01 kgCO2eq (หรือคิดเป็นความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 0.19 – 3.20 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อโคนมหนึ่งตัว) ในขณะที่ ฟาร์มโคนมกรณีศึกษาขนาดกลางปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่ในช่วง 2.74 ถึง 4.22 kgCO2eq (หรือคิดเป็นความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 0.09 – 0.19 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อโคนมหนึ่งตัว) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในฟาร์มกรณีศึกษาในจังหวัดราชบุรีมีค่า 3.25 ถึง 16.01 kgCO2eq ในขณะที่ ฟาร์มกรณีศึกษาในจังหวัดสระบุรีปล่อยก๊าซเรือนกระจกประมาณ 2.74 ถึง 4.07 หรือคิดเป็นความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 0.15 ถึง 3.20 และ 0.09 ถึง 0.21 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อโคนมหนึ่งตัว ตามลำดับ เมื่อพิจารณาในส่วนของแหล่งปล่อยพบว่า ฟาร์มโคนมมีการปล่อยก๊าซมีเทนจากกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์สูงกว่าการจัดการของเสีย และระบบการจัดการของเสียในรูปแบบ solid system ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าระบบ liquid/slurry system ดังนั้นจึงจำเป็นที่ผู้ควบคุมระบบในฟาร์มต้องมีวิธีการจัดการฟาร์มที่ดีเพื่อควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทนจากกิจกรรมภายในฟาร์มอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะจากแนวทางการจัดการมูลสัตว์ เช่น การติดตั้งระบบย่อยอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน การทำปุ๋ยหมัก และการทำแห้งมูลสัตว์ เป็นต้น นอกจากนี้ จำเป็นต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ ที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เช่น การปรับปรุงคุณภาพการให้อาหาร การรักษาแนวปฏิบัติในการเลี้ยงสัตว์ที่ดีเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกัน |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Hazardous Substance and Environmental Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81482 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.188 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2022.188 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6388524320.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.