Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81487
Title: Hallyu’s media hybridization: a case study of a Korean series remake for Thai audiences
Other Titles: การผสมผสานคลื่นวัฒนธรรมเกาหลีในสื่อ: กรณีศึกษาซีรีส์เกาหลีรีเมคสำหรับผู้ชมชาวไทย
Authors: Nutchapon Nimitphuwanai
Advisors: Jakkrit Sangkhamanee
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Issue Date: 2022
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Korean culture has currently spread to many countries and benefited both the economy and society, but it also has the potential to integrate with those cultures. Hallyu is centered to the export of cultural products in order to further the spread of its culture throughout the world. Thailand is one of the countries that has been influenced by Hallyu, and the impact on Thai television has not exemplified cultural imperialism but hybridization. Hallyu, on the other hand, is not a single direction, but a composite of mixed and local reconstructions. Korean media imports are also incorporated into the local. Certain media companies have begun purchasing the copy rights to popular South Korean dramas. They have been adapted to incorporate elements of Thai culture. The entire cast is Thai, as is the setting, which includes changing the character's name and numerous locations in the plot to Thai. And all of the storylines are told in Thai. Additionally, while Hallyu in Thai media has faded away in favor of original TV Series, the Korean wave continues to thrive and blend in through hybrid media and other channels. 
Other Abstract: ปัจจุบันวัฒนธรรมเกาหลีหรือฮันรยูได้แพร่กระจายไปยังหลายประเทศ พร้อมทั้งมีศักยภาพที่จะผสมผสาน เข้ากับวัฒนธรรมอื่นๆได้เป็นอย่างดีเป็นการสร้างผลประโยชน์ต่อทั้งเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเกาหลี โดยฮันรยูอาศัยเครื่องมือสำคัญอย่างการส่งออกสินค้าทางวัฒนธรรมเพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมไปทั่วโลก ประเทศไทย ถือเป็นหนึ่งในประเทศที่ได้รับอิทธิพลจากฮันรยูซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสื่อโทรทัศน์ของไทยไปในทิศทางของการ ผสมผสานทางวัฒนธรรมมากกว่าทิศทางของจักรวรรดินิยม โดยเป็นการสร้างวัฒนธรรมแบบผสมผสานระหว่าง วัฒนธรรมเกาหลีที่ส่งมาจากประเทศต้นทางเข้ากับวัฒนธรรมของไทยที่เป็นผู้รับสารปลายทางในรูปแบบการ ผสมผสานผ่านสื่อโทรทัศน์โดยสถานีโทรทัศน์บางแห่งของไทยได้เริ่มซื้อลิขสิทธิ์ซีรีส์เกาหลีที่ได้รับความนิยม มาดัดแปลงองค์ประกอบต่าง ๆ หรือรีเมค เกิดเป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม โดยทำการดัดแปลงบทจาก ต้นฉบับเกาหลี มาทำการแสดงโดยนักแสดงทั้งหมดที่เป็นคนไทย บอกเล่าเรื่องราวเป็นภาษาไทย และเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบต่าง ๆ ในเรื่องให้มีความเป็นไทย เช่น การเปลี่ยนชื่อตัวละครและสถานที่ทั้งหมดเป็นภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน กระแสเกาหลีในรูปแบบซีรีส์โทรทัศน์ต้นฉบับจะได้จางหายไปจากสื่อโทรทัศน์ของไทยแล้ว แต่ กระแสเกาหลียังคงดำรงอยู่และทำหน้าที่เผยแพร่วัฒนธรรมของตนต่อไปโดยการผสมผสานผ่านสื่อในรูปแบบต่าง ๆ
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2022
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Korean Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81487
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.210
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2022.210
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6488015320.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.