Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพีรศรี โพวาทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-05-31T06:57:22Z-
dc.date.available2023-05-31T06:57:22Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.citationหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย 19,1 (ม.ค. - มิ.ย. 2565) หน้า 94-123en_US
dc.identifier.issn2697-3901-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82148-
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งศึกษากระบวนการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394-2411) รวบรวมข้อมูลจากเอกสารชั้นต้นประเภทเอกสารลายลักษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้กรอบทฤษฎีสังคมวิทยาวัฒนธรรม ประกอบกับเอกสารทุติยภูมิ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรในการออกแบบและก่อสร้างมี 5 กลุ่มหลัก คือ แม่กอง นายช่าง นายด้าน-นายงาน ผู้รับเหมา และแรงงาน โดยสามกลุ่มแรกและแรงงานเลกไพร่เป็นส่วนหนึ่งของระบบอุปถัมภ์ในสังคมแบบจารีต ส่วนบุคลากรกลุ่มใหม่ คือ ผู้รับเหมาและแรงงานชาวจีน ซึ่งเริ่มทดแทนระบบเลกไพร่ และเป็นส่วนหนึ่งของความเปลี่ยนแปลงในระบบภาษีและการค้ากับต่างประเทศที่มีมาตั้งแต่รัชกาลที่ 3 (2) กระบวนการผลิตและจัดหาวัสดุก่อสร้างเป็นการเกณฑ์ส่วยตามระบบจารีต ควบคู่กับการนำเข้าวัสดุใหม่ ๆ จากต่างประเทศ ขณะที่การขนส่งวัสดุยังใช้พาหนะแบบโบราณ แต่ก็เริ่มมีการใช้เรือกลไฟช่วยอำนวยความสะดวกในการขนส่งวัสดุก่อสร้าง และ (3) ขั้นตอนในการออกแบบและก่อสร้างยังคงเป็นระบบจารีต พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์กลางของสังคม พระราชนิยมจึงส่งผลต่อสถาปัตยกรรมในหลายมิติ ทั้งการก่อสร้างพระราชวังและพระอารามตามหัวเมือง การรื้อฟื้นรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยโบราณ ควบคู่ไปกับการรับสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบตะวันตกen_US
dc.description.abstractalternativeThis research article examines the process of making architecture during the reign of King Mongkut (1851–1868), through the collection of primary textual data as well as secondary historical materials, and the analysis through cultural sociology theoretical framework. There are 3 major findings: (1) There were 5 major groups of people in the process–project managers, master builders, supervisors, contractors, and labors. The first three groups and the corvée labors were intrinsic to the patronage social structure in the traditional manner, while contractors and Chinese labors were new groups which began to replace the old corvée system, a part of changes in revenue system and foreign trade which began since the reign of King Nangklao; (2) The production and procurement of construction materials was primarily based on traditional corvée system, in conjunction with the importation of new construction materials from abroad. Transportation of materials remained very traditional, yet new modes, such as steamboats, helped facilitate transportation system; and (3) The design and construction process remained very traditional. The king was the social epicenter, and his predilections had a lot of impact on architecture in many dimensions, including the construction of provincial palaces and monasteries, the revival of ancient Thai architectural forms, as well as the importation of Western architectural and artistic forms.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.relation.urihttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/NAJUA/article/view/259540-
dc.rightsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมกับโบราณคดีen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรม -- ไทยen_US
dc.subjectการออกแบบสถาปัตยกรรมen_US
dc.titleกระบวนการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394-2411)en_US
dc.title.alternativeArchitecture as a process during the reign of King Mongkut (1851–1868)en_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85126.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.83 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.