Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82472
Title: | Correlation of the classical swine fever (CSF) antibody levels detected by serum neutralizaton and enzyme-linked immunosorbent assay (Elisa) |
Other Titles: | ความสัมพันธ์ของระดับเเอนติบอดีต่อโรคอหิวาต์สุกรที่ตรวจได้จากปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์เเละอิไลซา |
Authors: | Chairani Ridha Maghfira |
Advisors: | Yaowalak Panyasing |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Veterinary Science |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Classical swine fever is an important viral disease that has a devastating impact on the swine industry. The Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) provides a simpler and more practical approach to detect classical swine fever virus (CSFV) antibodies compared to the serum neutralization (SN) test. However, antibody responses detected by ELISA cannot directly exhibit a protective level. This study aimed to evaluate the correlation of classical swine fever antibody responses detected by SN assay and commercial ELISA. A total of 522 negative and positive serum samples were tested by the SN and ELISA. Correlation, an agreement between two assays, and comparisons of sample-to-positive (S/P) values among the level of SN titers were evaluated. The results revealed a strong positive relationship (rs 0.89; p<0.0001) and excellent agreement with the Kappa value of 0.913 between the S/P values and SN titers. The comparison tests showed a statistically significant difference (p<0.0001) between the mean S/P values among three distinct levels of SN titers, i.e., negative SN titers (antibody titer <2), SN titers below protective level (antibody titer <32), and SN titers at protective levels (antibody titer ≥32). Positive samples having antibody titers below and at protective levels showed S/P values at 1.132±0.587 and 1.767±0.479, respectively. Therefore, the strong correlation between the S/P values and neutralizing antibody titers could provide useful information in terms of detecting CSFV antibodies and estimating protective status of antibody positive animals by the ELISA method. |
Other Abstract: | โรคอหิวาต์สุกรเป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่สำคัญในสุกร ที่มีผลกระทบกับอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรเป็นอย่างมาก การตรวจภูมิคุ้มกันต่อเชื้ออหิวาต์สุกรด้วยชุดตรวจอิไลซา (ELISA) เป็นวิธีการตรวจแอนติบอดีที่สามารถทำได้ง่ายและสะดวกในทางปฏิบัติเมื่อเทียบกับการตรวจแอนติบอดีด้วยปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ (serum neutralization test) อย่างไรก็ตาม ระดับแอนติบอดีที่ตรวจได้จากชุดตรวจอิไลซาไม่สามารถแสดงระดับแอนติบอดีในการป้องกันโรคได้เหมือนการตรวจด้วยปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับแอนติบอดีที่ตรวจด้วยชุดตรวจอิไลซาและปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ โดยการตรวจแอนติบอดีต่อโรคอหิวาต์สุกรจากตัวอย่างซีรัมสุกรที่เป็นลบและบวก จำนวน 522 ตัวอย่าง ด้วยชุดตรวจอิไลซาและปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ และประเมินความสัมพันธ์ของระดับแอนติบอดีที่ตรวจพบ ความสอดคล้องของผลตรวจที่ได้จากทั้งสองวิธีการ และวิเคราะห์ระดับแอนติบอดีที่ตรวจด้วยวิธีอิไลซาที่ระดับแอนติบอดีไตเตอร์ต่าง ๆ ผลการศึกษาพบว่า ระดับแอนติบอดีต่อโรคอหิวาต์สุกรจากชุดตรวจอิไลซามีความสัมพันธ์กับระดับแอนติบอดีไตเตอร์ที่ตรวจจากปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างค่า sample-to-positive (S/P) จากชุดตรวจอิไลซาและระดับแอนติบอดีไตเตอร์ที่ตรวจจากปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ (rs = 0.89; p<0.0001) และพบความสอดคล้องของผลตรวจที่ได้จากทั้งสองวิธีการ (ค่าสัมประสิทธิ์แคปปา = 0.913) นอกจากนี้ พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.0001) ของค่าเฉลี่ย S/P จากกลุ่มตัวอย่างในแต่ละระดับแอนติบอดีไตเตอร์ ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับแอนติบอดีเป็นลบ (แอนติบอดีไตเตอร์ <2) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับแอนติบอดีไตเตอร์ต่ำกว่าระดับป้องกันโรค (แอนติบอดีไตเตอร์ <32) และกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับแอนติบอดีไตเตอร์ที่ระดับป้องกันโรค (แอนติบอดีไตเตอร์ ≥32) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับแอนติบอดีไตเตอร์ต่ำกว่าระดับที่สามารถป้องกันโรคได้ มีค่าเฉลี่ย S/P ที่ 1.132±0.587 และกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับแอนติบอดีไตเตอร์ที่ระดับป้องกันโรคได้ มีค่าเฉลี่ย S/P ที่ 1.767±0.479 ดังนั้น ความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่า S/P และระดับแอนติบอดีไตเตอร์ที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับผลตรวจที่ได้จากวิธีอิไลซาในการตรวจหาแอนติบอดีและการประเมินสถานะของภูมิคุ้มกันในการป้องกันโรคในระดับฝูง |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Veterinary Science and technology |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/82472 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.371 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2022.371 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Vet - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6478001831.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.