Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิภาวี ศิริลักษณ์-
dc.contributor.authorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.authorชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-01T03:03:15Z-
dc.date.available2023-09-01T03:03:15Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24,1 (ม.ค.-มี.ค. 2565) หน้า 259-268en_US
dc.identifier.issn2586-9345 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83500-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยของครู ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยมีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับแบบพหุมิติภายในข้อคำถาม (5-point multidimensional-within-item rating scale) กับครูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 502 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัย พบว่า 1. เครื่องมือวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ ความคิดที่มีต่อการวิจัย ความรู้สึกที่มีต่อการวิจัย และพฤติกรรมการวิจัย เนื้อหาสาระในข้อรายการของแบบวัดเกี่ยวข้องกับการทำวิจัยในชั้นเรียนตามขั้นตอนการวางแผน/การลงมือปฏิบัติ /การสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูล/การสะท้อนคิด (PAOR) 2. เครื่องมือวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยผ่านการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ มีความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในของระหว่าง .49 - .74 และมีความตรงเชิงโครงสร้างจากผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลการวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 (30, N=502) = 38.93, p = .13, CFI = .99, TLI = .99, SRMR = .02, RMSEA = .02)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to develop the measurement instrument of teachers’ research mindset. Data were obtained from 502 teachers under Office of the Basic Education Commission and were collected by using a 5-point multidimensional-within-item rating scale. The data were then analyzed by confirmatory factor analysis. The research findings were as follows: 1. The measurement instrument of teachers’ research mindset consists of 3 components: thought towards research, feelings towards research, and research behaviors. The contents of the statements in the measurement tool are related to classroom research according to plan, act, observe, and reflect (PAOR). 2. The measurement instrument of teachers’ research mindset has content validity as examine by experts. The Cronbach’s alpha reliability coefficients ranged between .49-.74. Is also has construct validity as shown by the model fit with the empirical data (χ2 (30, N=502) = 38.93, p = .13, CFI = .99, TLI= .99, SRMR = .02, RMSEA = .02).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรen_US
dc.relation.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/239054-
dc.rightsวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร-
dc.rightsวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร-
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือวัดกรอบคิดติดยึดด้านการวิจัยของครูen_US
dc.title.alternativeDevelopment of measurement instrument of teachers' research mindseten_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_86517.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.79 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.