Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุทธการ ปัทมโรจน์-
dc.contributor.authorศิริพร ภักดีผาสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-25T09:24:42Z-
dc.date.available2023-09-25T09:24:42Z-
dc.date.issued2565-07-
dc.identifier.citationวารสารวรรณวิทัศน์ 22,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2565) หน้า 1-40en_US
dc.identifier.issn2672-9946 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83596-
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนพระสงฆ์ผู้กระทำผิดในวาทกรรมข่าวออนไลน์ตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ของ Fairclough (1992, 1995a, 1995b) ผลการศึกษาพบว่ามีการใช้กลวิธีทางภาษาเพื่อนำเสนอตัวแทนพระสงฆ์ผู้กระทำผิด ได้แก่ การใช้คำเรียก การใช้กริยาวลี การเลือกใช้คำ การเล่าเรื่อง การใช้มูลบท การใช้สหบท และการใช้คำถามเชิงวาทศิลป์ กลวิธีทางภาษาดังกล่าวนำเสนอภาพตัวแทนพระสงฆ์ผู้กระทำผิดได้ 3 ภาพหลัก ได้แก่ 1) พระสงฆ์ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับความเป็นพระ 2) พระสงฆ์ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่สร้างความเสื่อมเสียให้แก่สังคมและศาสนา และ 3) พระสงฆ์ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่สมควรถูกตำหนิ ประณามและขับไล่ให้พ้นไปจากสถาบันพระพุทธศาสนาและวงการพระสงฆ์โดยรวม ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อวาทกรรมข่าวพระสงฆ์ผู้กระทำผิด ได้แก่ กฎหมาย พระธรรมวินัย ระเบียบคณะสงฆ์ และแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของพระสงฆ์ ผลการศึกษาทำให้เห็นว่าสื่อมวลชนนำเสนอประเด็นปัญหาพระสงฆ์บางรูปที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมเพื่อเป็นจุดขายและดูเหมือนจะเป็นการขจัดมลทินให้แก่สถาบันพระพุทธศาสนาโดยการประณามพระสงฆ์ผู้กระทำผิดอย่างรุนแรง แต่อย่างไรก็ตามสื่อมวลชนก็ไม่ได้กล่าวถึงสาเหตุอย่างจริงจังหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างยั่งยืน ท้ายที่สุดปัญหาก็ยังคงมีอยู่และถูกนำเสนอซ้ำดังที่พบในการรายงานข่าวen_US
dc.description.abstractalternativeThis article aims at analyzing the relationship between linguistic devices and representation of misbehaving monks in online news discourse by adopting the framework of Critical Discourse Analysis (Fairclough, 1992, 1995a, 1995b). The analysis reveals that various linguistic devices are used for constructing the representation of misbehaving monks, including the usage of referring terms, verb phrases, lexical selection, narratives, presupposition, intertextuality, and rhetorical questions. The three main representations of misbehaving monks constructed by these devices include 1) misbehaving monks as persons whose behaviors are inappropriate for being a monk, 2) misbehaving monks as a disgrace to the society and the religion, and 3) misbehaving monks as persons who deserve to be condemned and expelled from Buddhist institute and monk society. The social factors that are related to the representations of misbehaving monks are laws, Buddhist discipline or Vinaya, monk’s regulation, and the concept about the roles of monks. It is found that the press uses the news discourse of misbehaving monks as a selling point. Moreover, it seems that they attempt to eliminate the shameful monks from the Buddhist institutes by severely condemning these misbehaving monks. However, it appears that the press has not addressed the causes of the problems and proposed any sustainable solutions. Ultimately, the problems have persisted and still occurred repeatedly as found in the news.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์en_US
dc.relation.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/VANNAVIDAS/article/view/258946-
dc.rightsสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนพระสงฆ์ผู้กระทำผิดในวาทกรรมข่าวออนไลน์ : การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์en_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Linguistic Devices and Representation of Misbehaving Monks in Online News Discourse : A Critical Discourse Analysisen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_85056.html.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.79 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.