Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปวริศร์ ปิงเมือง-
dc.contributor.authorประกอบ กรณีกิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-09-26T02:13:24Z-
dc.date.available2023-09-26T02:13:24Z-
dc.date.issued2565-01-
dc.identifier.citationวารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 17,22 (ม.ค..-มิ.ย. 2565) หน้า 104-123en_US
dc.identifier.issn1686-5375 (Online)-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83601-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ด้วยโมไบล์แอปพลิเคชันและกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยโมไบล์แอปพลิเคชันช่วยการเรียนภาษาที่ใช้ภาระงานเป็นฐานและเกมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้ในการทดลองเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 35 คน โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะลง เครื่องมือที่ใช้ทดลองการวิจัยได้แก่ 1) โมไบล์แอปพลิเคชัน 2) แผนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการการจัดการเรียนรู้ฯ 3) ภาระงานเขียนภาษาอังกฤษ 4) แบบทดสอบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียน 5) เกณฑ์การประเมินทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ และ 6) แบบสอบถามความคิดเห็นในการเรียนโดยใช้โมไบล์แอปพลิเคชัน ในกระบวนการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยกำหนดเวลาในการทดลองจำนวน 8 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรราฐาน การทดสอบทีและ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ โดยผลศึกษาพบว่า ผลการวิเคราะห์ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน พบว่า มีความแตกต่างของคะแนนอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ พบว่ามีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (F=1579.266, sig=.000) และนักเรียนมีความคิดเห็นว่ากิจกรรมการเรียนโดยใช้โมไบล์แอปพลิเคชันและกระบวนการจัดการเรียนรู้ฯ มีความเหมาะสมมากen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to implement the mobile-assisted language learning application and learning process using task-based approach and gamification to enhance junior high school students’ English writing skills. The experiment sample were 35 junior high school students by simple sampling. The research instruments consist of the web application, English writing tasks, English writing pre and post tests, scoring writing rubrics, and questionnaire of student's satisfaction. The experimental period lasted for 8 weeks. The data were analyzed by using frequency, mean, standard deviation, priority needs index, t-test dependent, and One-Way ANOVA with Repeated Measure Analysis. Findings shows the experiment result indicated that the samples had English writing skills in the post-test was higher than the pre-test at the .05 level of significance. The different of mean score in English writing tasks showed that there was the different between English writing scores at the .05 level of significance (F=1579.266, sig=.000). The result of student’ satisfaction showed that the learning process and web application were very satisfied.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherวารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.relation.urihttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/ectstou/article/view/252584-
dc.rightsสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยโมไบล์แอปพลิเคชันช่วยการเรียนภาษา ที่ใช้ภาระงานเป็นฐานและเกมิฟิเคชัน เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen_US
dc.title.alternativeEffect of mobile-assisted language learning application using task-based approach and gamification to enhance junior high school students’ english writing skillsen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:Thai Journal Article

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
html_submission_86554.htmlบทความวารสารฉบับเต็ม (Fulltext)2.76 kBHTMLView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.