Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8409
Title: Resolving the people's war in Nepal : a discussion of obstacles to political integration
Other Titles: การยุติสงครามประชาชนในเนปาล : ข้อถกเถียงว่าด้วยอุปสรรคต่อการบูรณาการทางการเมือง
Authors: Sciantarelli, Pamela Elise
Advisors: Giles Ungpakorn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
Advisor's Email: No information provided
Subjects: Nepal -- Politics and government
Communism -- Nepal
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Between February 2005 and September 2006, Nepal incurred the most eventful bout of political happenings in the country’s recent history. The totalitarian takeover by King Gyanendra resulted in a mass people's movement numbering in the millions along with the emergence of the Communist Party Nepal-Maoists from a ten-year underground existence. This paper uses Classical Marxist Theory to show the plausibility of a Maoist-affiliated party participating in mainstream politics. On the brink of a new government system, political integration of the CPNM never seemed more possible. Successful political integration must be simultaneously accompanied by disarmament measures. The disarmament aspect of Nepal is discussed through the Disarmament, Demobilization, and Reintegration (DDR) Framework. The situation in Nepal is assessed until the submission of the interim constitution's first draft in August 2006.
Other Abstract: ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ถึง กันยายน 2549 ประเทศเนปาลได้เกิดเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย ทางการเมือง ซึ่งนับได้ว่าเป็นเรื่องใหม่ในประวัติศาสตร์ชาติเนปาลเลยทีเดียว กษัตริย์กียาเน็นดราทรงยึดอำนาจการปกครอง กลายเป็นการปกครองแบบเผด็จการ ทำให้เกิดความเคลื่อนไหวของมหาชนนับล้านๆ รวมถึงพรรคคอมมิวนิสต์ เนปาล-มาโออิสต์ ซึ่งเป็นพรรคที่อยู่มานานนับสิบปี การวิจัยนี้ใช้หลักดั้งเดิมจากทฤษฎีของลัทธิมาร์กซ์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมีเหตุผล และความน่าเชื่อถือ ของการรวมลัทธิมาร์กซ์กับงานทางการเมือง จากระบบรัฐบาล, การรวมกันทางการเมืองของ CPNM ซึ่งไม่เคยแสดงว่าจะเกิดขึ้นได้ ความสำเร็จของการรวมกันทางการเมืองนั้น เกิดขึ้นโดยพร้อมกันกับการลดกำลังอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งปัญหาด้านการลดกำลังอาวุธของเนปาลนั้น ได้รับการถกเถียงกันเป็นอย่างมาก ซึ่งหัวข้อต่างๆ ได้แก่ การลดกำลังอาวุธ (Disarmament), การถอนกำลังทหาร (Demobilization) และการกลับมารวมกันอีกครั้ง (Reintegration) หรือเป็นขอบข่ายของงานที่เรียกย่อๆว่า DDR สถานการณ์ในเนปาลนั้น ได้รับการยอมรับ ของการรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมื่อเดือนสิงหาคม 2549
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Development Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8409
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1580
ISBN: 9741434774
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1580
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pamela.pdf792.4 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.