Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/841
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทิต มันตาภรณ์-
dc.contributor.authorหัสญา อุ่นจิตต์, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-18T09:34:35Z-
dc.date.available2006-07-18T09:34:35Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741771436-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/841-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาการใช้กำลังขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศในกรณีโคโซโว โดยพิจารณาถึงหลักการห้ามใช้กำลังและข้อยกเว้นตามกฎบัตรสหประชาชาติ ซึ่งพบว่า มาตรา 2 (4) ได้บัญญัติห้ามมิให้รัฐภาคีขององค์การสหประชาชาติ ใช้กำลังในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไม่ว่าจะกระทำโดยวิธีใด เว้นแต่การป้องกันตนตามมาตรา 51 และการดำเนินการร่วมกันเพื่อรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่งประเทศตามหมวด 7 และแม้ว่ากฎบัตรสหประชาชาติจะยอมรับให้มีการจัดทำข้อตกลง หรือจัดตั้งองค์การส่วนภูมิภาคเพื่อแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบ ต่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศก็ตาม การดำเนินการดังกล่าวก็จะต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติด้วย จากการศึกษาพบว่า ปฏิบัติการทางอากาศขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลตติกเหนือ ในกรณีโคโซโวนั้นขัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการใช้กำลังและมิได้กระทำภายใต้ข้อยกเว้น ของกฎบัตรสหประชาชาติหรือภายใต้อำนาจของคณะมนตรีความมั่นคง แม้จะอ้างว่าเป็นการแทรกแซงเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรมก็ตาม แต่กรณีดังกล่าวก็มิได้มีบทบัญญัติรองรับไว้ชัดแจ้ง ว่าเป็นสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ จึงเกิดแนวคิดในเรื่องหน้าที่ในการคุ้มครองขึ้นมา ซึ่งกรณีโคโซโวนั้นปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ อุปสรรคในเรื่องการใช้สิทธิยับยั้งของคณะมนตรีความมั่นคง ซึ่งทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาก็คือ การเสนอปัญหาต่อสมัชชาสหประชาชาติเพื่ออภิปรายหรือทำคำแนะนำ ในกรณีที่มีสถานการณ์ซึ่งน่าจะเป็นอันตรายต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ นอกจากนั้นการบัญญัติหลักเกณฑ์ในเรื่อง การแทรกแซงเพื่อเหตุผลทางมนุษยธรรมให้ชัดแจ้ง ก็จะเป็นการป้องกันมิให้รัฐต่างๆ ใช้ข้ออ้างในกรณีดังกล่าวในทางที่ผิดได้en
dc.description.abstractalternativeTo study the use of force of the North Atlantic Trealy Organization (NATO) in the case of Kosovo under the international law. According to the international obligation banning the use of force against another state and charter of the United Nations, pursuant to Article 2 (4), all UN members shall refrain in their international relations from the threat or use of force, excepting for the purpose of self-defense, pursuant to Article 51, and international co-operation in maintaining and restoring international peace and security. Although Charter of UN does not preclude the establishment of regional arrangements or agencies for dealing with matters relating to the maintenance of international peace and security, all measures must be directed with authorization of Security Council. After literatures reviewing and studying all grounds concerning to this case, it manifestly found that the air forces of NATO allies in Kosovo violated the international law. The use of force of NATO allies overlooked charter of UN and lacked the Security Council sanction, even for Humanitarian purpose claimed by NATO allies. There is no any statute supporting the NATO allies' operations to have international legal rights which, in this case, initiates the concept of the responsibility to protect. In the said case, one of the main problems is the Security Council's Veto. One solution is to propose this problem to the General Assembly for discussion and making recommendations in the case that can endanger to the international peace and security and should have a well-defined principle in Humanitarian intervention to prevent any states from claiming or misusing for the use of force against another state.en
dc.format.extent1796011 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือen
dc.subjectกฎหมายระหว่างประเทศen
dc.subjectโคโซโว (เซอร์เบีย)--ประวัติศาสตร์--สงครามกลางเมือง, ค.ศ. 1998en
dc.titleการใช้กำลังขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ : ศึกษากรณีเหตุการณ์โคโซโวen
dc.title.alternativeUse of force by the North Atlantic Treaty Organization under international law : a case study of Kosovoen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVitit.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Hussaya.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.